วันศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2550


พุทธศักราช 1676 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 1133 - มีนาคม ค.ศ. 1134
มหาศักราช 1055 พ.ศ. 1676 วันเกิด

วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ฟาร์มาโคยีโนมิกส์
ฟาร์มาโคยีโนมิกส์ (อังกฤษ:Pharmacogenomics) คือสาขาหนึ่งของวิชาเภสัชภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอิทธิพลของความแตกต่างทางพันธุกรรมซึ่งมีผลต่อการตอบสนองของยาในคนไข้ โดยความสัมพันธ์การแสดงออกของยีน (gene expression) หรือ ซิงเกิล-นูคลิโอไทด์ พอลิมอร์ฟิซึม (single-nucleotide polymorphism) กับผลของยาหรือพิษของยา จากความรู้ทางฟาร์มาโคยีโนมิกส์เช่นนี้เราคาดหวังกันว่าจะสามารถพัฒนาการใช้ยาให้มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยให้ยาที่เหมาะกับรูปแบบยีน (genotype) ของคนไข้เพื่อให้ได้ผลของยา (efficacy) สูงสุด และผลข้างเคียง (adverse effect) ของยาน้อยที่สุด ซึ่งจะเป็นการเปิดศักราชใหม่ของ การจ่ายยาเฉพาะบุคคล (personalised medicine) ฟาร์มาโคยีโนมิกส์คือการใช้ข้อมูลจีโนม (genome) ทั้งหมดในฟาร์มาโคยีนิติกส์(pharmacogenetics) เพื่อตรวจสอบยีนหนึ่งเดียวที่มีผลต่อยา

วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2550

กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศสิงคโปร์ ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลสิงคโปร์ ทีมชาติสิงคโปร์นั้นยังไม่มีผลงานในฟุตบอลโลกหรือในระดับเอเชีย แต่ในระดับอาเซียนนั้นทีมชาติสิงคโปร์เป็นทีมหนึ่งที่ประสบความสำเร็จ โดยชนะการแข่งขันไทเกอร์คัพ 2 ครั้ง ในปี 2541 และ 2548 และจากการจัดอันดับของฟีฟ่า สิงคโปร์เป็นทีมที่มันอันดับสูงสุดในภูมิภาคอาเซียนในปัจจุบัน (ต.ค. 49) โดยได้รับอันดับที่ 115 โดยอันดับรองลงมาคือ ทีมชาติไทย ที่อันดับที่ 125

ฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ เอเชียนคัพ

1996 - รอบแรก
1998 - ชนะเลิศ
2000 - รอบแรก
2002 - รอบแรก
2004 - ชนะเลิศ
2007 - ชนะเลิศ

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2550


กิ่งอำเภอเวียงเก่า แยกพื้นที่การปกครองออกมาจากอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2549) เป็นกิ่งอำเภอที่จัดตั้งขึ้นใหม่ล่าสุดเป็นลำดับที่ 82 (ปัจจุบัน) ของประเทศไทย

กิ่งอำเภอเวียงเก่า การปกครองส่วนภูมิภาค
กิ่งอำเภอเวียงเก่ามีเขตการปกครองรวม 3 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งออกเป็นหมู่บ้านรวม 36 หมู่บ้าน ได้แก่

วันศุกร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ปลาเวียน
เวียน เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tor tambroides อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cyprininae - Cyprinini เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะคล้ายปลาพลวงซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกัน เว้นแต่ริมฝีปากบนมีแผ่นหนังยื่นออกมาทำให้ดูคล้ายจงอยปากงุ้มลง ขนาดเฉลี่ยโดยทั่วไปประมาณ 60 ซ.ม. ขนาดใหญ่สุดที่พบ 1 เมตร
อาศัยตามแหล่งน้ำสะอาดตามต้นน้ำลำธาร มีพฤติกรรมในอพยพย้ายถิ่นลงมาทางปากน้ำในฤดูฝน ตามรายงานพบว่า ปลาที่อาศัยในแม่น้ำแม่กลอง เมื่อถึงฤดูฝนจะว่ายตามกระแสน้ำลงไปจนถึงปากนี้ ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า " ปลาเหล แม่น้ำ " นานประมาณ 4-8 สัปดาห์ จากนั้นจะหวนกลับไปยังต้นน้ำ แสวงหาสถานที่อันเหมาะสมเพื่อผสมพันธุ์ จะวางไข่ในช่วงเดือนมิถุนายน และกรกฎาคม
เคยเป็นปลาที่ขึ้นชื่อของจังหวัดเพชรบุรี เพราะเนื้อนุ่มละเอียด มีไขมันสะสมในเนื้อเยอะ ซึ่งปัจจุบันพบได้น้อย จนแทบกล่าวได้ว่าหมดไปแล้ว เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ถูกทำลาย
ปลาเวียน

วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2550

โบสถ์อัสสัมชัญ
อาสนวิหารอัสสัมชัญ หรือ โบสถ์อัสสัมชัญ เป็นโบสถ์เก่าแก่อายุกว่า 200 ปี สร้างโดยบาทหลวงปาสกัล ซึ่งเป็นชาวไทย-โปรตุเกส โบสถ์หลังปัจจุบันนี้ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2452 เพื่อรองรับการขยายตัวของคริสต์ศาสนิกชนที่มีเพิ่มมากขึ้น โดยมีสถาปนิกชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง วัสดุที่ใช้สร้างเช่นหินอ่อนและกระจกสีนั้นก็สั่งมาจากประเทศฝรั่งเศสและอิตาลี
เป็นลักษณะศิลปะแบบเรอเนซองส์ของอิตาลี ความสูงตั้งแต่ยอดหอคอยจดพื้น 32 เมตรด้วยกัน ส่วนด้านในผนังและเพดานก็งดงามด้วยจิตรกรรมแบบเฟรสโกและประติมากรรมปูนปั้นที่แสดงถึงเรื่องราวความเชื่อของทางศาสนาคริสต์

วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2550


พุทธศักราช 573 ใกล้เคียงกับ ค.ศ. 30

พ.ศ. 573 วันเกิด

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2550

แป็ก ปริญญา
แป๊ก ปริญญา หรือ พี่แป๊ก เป็นนักพากย์ที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย ปัจจุบันพากย์เสียงให้บริษัทการ์ตูนหลายแห่ง เช่น Rose cartooninter และบริษัทค่ายไพเรทต่างๆซึ่งปัจจุบันพี่แป๊กยังมีทีมเป็นของตนเอง คือ ทีมโฟกัสนั้นเอง ด้วยน้ำเสียงที่ทุ้ม นุ่ม หล่อ เข้มแหบ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ พี่แป็กจึงมักจะได้รับบทเป็นพระเอกในการ์ตูนหลายๆเรื่องอยู่เสมอ

วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550


ส่วนหนึ่งของ พุทธศาสนา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน
พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
สำหรับ เข้าพรรษา ที่เป็นชื่อพรรณไม้ ดูที่ เข้าพรรษา (พรรณไม้)
วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่ง ที่พระสงฆ์อธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า อยู่) พิธีเข้าพรรษานี้ถือเป็นศาสนพิธีสำหรับพระภิกษุโดยตรง ละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตาม เริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา

ประวัติวันเข้าพรรษา
การเข้าพรรษาแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

ปุริมพรรษา (เขียนอีกอย่างว่า บุริมพรรษา) คือ การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12
ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ประเภทของการเข้าพรรษา
โดยปรกติเครื่องใช้สอยของพระภิกษุตามพุทธานุญาตที่ให้มีประจำตัวนั้น มีเพียง อัฏฐบริขาร ซึ่งได้แก่ สบง จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้อกรองน้ำ และมีดโกน แต่ช่วงหน้าฝนของการจำพรรษาในสมัยก่อนนั้น กว่าพระสงฆ์จะหาที่พักแรมได้ บางครั้งก็ถูกฝนเปียกปอน ชาวบ้านผู้ใจบุญจึงถวาย "ผ้าจำนำพรรษา" หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ผ้าอาบน้ำฝน เพื่อให้พระสงฆ์ได้ผลัดเปลี่ยน และยังถวายของจำเป็นแก่กิจประจำวันเป็นพิเศษในช่วงเข้าพรรษา จนเป็นประเพณีทำบุญสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

จำพรรษา เครื่องอัฏฐบริขารของภิกษุระหว่างการจำพรรษา

ช่วงเข้าพรรษานั้นเป็นช่วงเวลาที่ชาวบ้านประกอบอาชีพทำไร่นา ดังนั้นการกำหนดให้ภิกษุสงฆ์หยุดการเดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆ ก็จะช่วยให้พันธุ์พืชของต้นกล้า หรือสัตว์เล็กสัตว์น้อย ไม่ได้รับความเสียหายจากการเดินธุดงค์
หลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 - 9 เดือน ก็เป็นช่วงที่ให้พระภิกษุสงฆ์ได้หยุดพักผ่อน
เป็นเวลาที่พระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึง วันออกพรรษา
เพื่อจะได้มีโอกาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป
เพื่อให้พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา

วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2550


พุทธศักราช 1999 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 1456 - มีนาคม ค.ศ. 1457
ค.ศ. 1456 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน
ค.ศ. 1457 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน
มหาศักราช 1378
ปีชวด อัฏฐศก จุลศักราช 818 (วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันเถลิงศก) ค.ศ. 1456 เหตุการณ์

วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2550


หลัก 3 ประการแห่งประชาชน หรือที่เราเรียกกันว่า ลัทธิไตรราษฎร์ (ซันหมินจู่อี้) มีหลักสำคัญดังนี้
หลัก 3 ประการ แห่งประชาชนหลัก 3 ประการ แห่งประชาชน การล้มล้างราชวงศ์แมนจู (Nationalism) : ด้วยการยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
การจัดตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐ (Democracy)
การเมืองแบบสังคมนิยม (People's livelihood) : อนุญาตให้ประชาชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และเจ้าของที่ดิน

วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2550


พุทธศักราช 1817 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 1274 - มีนาคม ค.ศ. 1275
ค.ศ. 1274 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน
ค.ศ. 1275 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน
มหาศักราช 1196
ปีจอ ฉศก จุลศักราช 636 (วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันเถลิงศก) ค.ศ. 1274 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์

วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2550


เวอร์จิ้น (2001–2002) มารายห์ แครี (Mariah Carey) เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1970 ที่ เมืองฮันติงตัน รัฐนิวยอร์ก เธอเป็นนักร้องและนักประพันธ์เพลงป็อปชาวอเมริกันระดับแถวหน้า โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษที่ 90 แครีถือได้ว่าเป็นศิลปินที่ประสบความสำเร็จที่สุดในทศวรรษดังกล่าว เนื่องจากตามรายงานของนิตยสารบิลบอร์ด และเวิร์ล มิวสิก อวอร์ดส แครีเป็นศิลปินที่มียอดขายมากที่สุดแห่งทศวรรษ
นอกจากงานทางด้านนักร้องแครียังเป็นนักประพันธ์เพลง โปรดิวเซอร์ดนตรี ผู้กำกับมิวสิกวิดีโอ และนักแสดง และนอกจากนั้น เธอยังมีส่วนช่วยเหลือองค์กรการกุศลหลาย ๆ องค์กร

ชีวิตในวัยเด็กและครอบครัว ปี 1970 ถึง 1990
แครีเริ่มอาชีพนักร้องเมื่อปี ค.ศ. 1990 ด้วยผลงานอัลบั้มชุดแรกที่มีชื่อชุดตรงกับชื่อของเธอเอง อัลบั้มนี้มีเพลงที่ติดอันดับ 1 ของตารางจัดอันดับเพลงในสหรัฐอเมริกาถึง 4 เพลง ได้แก่ เพลง Vision Of Love, Love Takes Time, Someday และ I Don't Wanna Cry) เพลงที่ร้องในการแสดงสดครั้งนี้ ได้รับการบันทึกลงในอัลบั้มอีพีของเธอที่ชื่อ "MTV Unplugged" โดยมีเพลงทั้งหมด 7 เพลงด้วยกัน

การประสบความสำเร็จในช่วงแรก ปี 1990 ถึง 1992
มารายห์ แครี แต่งงานกับ ทอมมี่ มอตโตล่า ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัทโซนี่ในขณะนั้น ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1993 ที่แมนฮัตตัน สหรัฐอเมริกา
นอกจากผลงานของเธอแล้ว ในช่วงปีนี้ แครียังได้ไปร่วมประสานเสียงให้กับเพลง Everytime I close My Eyes ของเบบี้เฟส อีกด้วย

ความสำเร็จไปทั่วโลก ปี 1993 ถึง 1996
ในปี ค.ศ. 1997 มารายห์ แครี และทอมมี่ มอตโตล่า ก็ต้องแยกทางกัน หลังจากที่เธอต้องสร้างภาพสู่สาธารณชนว่าเธอมีความสุขในชีวิตคู่ ซึ่งแท้จริงแล้วแครีไม่มีความสุขเลย เธอถูกปฏิบัติเหมือนนกในกรงทอง เธอถูกเฝ้าดูทุกฝีเก้า ไม่มีความเป็นอิสระ จนสุดท้ายการหย่าร้างก็เกิดขึ้นในปีถัดมา
แครีได้ก้าวสู่ฐานะศิลปินแนวอาร์แอนด์บี โดย ได้ทำงานกับเจย์-ซี เพลง Things That U Do และ Got A Thing For You ของดา แบรท (Da Brat)

ความเป็นอิสระและภาพลักษณ์ใหม่ ปี 1997 ถึง 2000
หลังจากที่เธอได้รับรางวัลเวิร์ลด์ มิวสิก อวอร์ดส แครีได้สิ้นสุดสัญญากับโซนี่และได้เซ็นสัญญากับอีเอ็มไอด้วยเงิน 70 ล้านปอนด์ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2001 ในอเมริกาและบรรจุอยู่ในอัลบั้มรีมิกซ์ "The Remixes" ของเธอด้วย

อุปสรรคในเรื่องส่วนตัวและอาชีพ ปี 2001 ถึง 2003
ในปี 2004 แครีใช้เวลาส่วนใหญ่กับการทำอัลบั้ม "The Emancipation of Mimi" ในช่วงปลายปี 2004 เธอได้ร่วมงานกับจาดาคิส (Jadakiss) ในเพลง U Make Me Wanna ซึ่งสามารถเข้าถึง 10และจะได้รับตำแหน่งเดอะลองไอแลนด์มิวสิกฮอลล์ออฟเฟม

การกลับมาของเธอ ปี 2004 ถึงปัจจุบัน
แครีได้ก้าวเข้าสู่หนทางการเป็นนักแสดง โดยได้เริ่มเรียนการแสดงในปี 1997 ปีถัดมาเธอได้ออดิชั่นและได้แสดงเป็นตัวประกอบในหนังเรื่องเดอะ แบชเชอเรอร์ ผู้ชายหัวใจเวอร์จิ้น (1999) นำแสดงโดย คริส โอ'ดอนเนลล์ (Chris O'Donnell) และเรเน่ เซลเวเกอร์ โดยเธอแสดงเป็นนักร้องโอเปร่าสาว
เรื่องต่อมาแครีได้แสดงในหนังกึ่งอัตชีวประวัติของเธอกลิตเตอร์ (Glitter) (2001) โดยครั้งนี้เธอได้แสดงเป็นตัวนำ แสดงร่วมกับแม็กซ์ บีสลีย์ (Max Beesley) เรื่องนี้ล้มเหลวทั้งรายได้และคำวิจารณ์

บทบาททางการแสดง

เดอะ แบชเชอเรอร์ ผู้ชายหัวใจเวอร์จิ้น (The Bachelor) (1999)
กลิตเตอร์ (Glitter) (2001)
ไวซ์เกิร์ลส์ (WiseGirls) (2002)
เดธ ออฟ อะ ไดนาสตี (Death of a Dynasty) (2003)
สเตท พร็อพเพอร์ตี 2 (State Property 2) (2005)
เทนเนซซี (Tennessee) (2007) ผลงานการแสดง
แครีเคยพูดว่าเธอได้ถูกกระตุ้นจากนักร้องอาร์แอนด์บีและโซลจากศิลปินอย่าง บิลลี ฮอลิเดย์ ,ซาราห์ วอห์น ,แกลดีส์ ไนท์ (Gladys Knight) ,อารีธา แฟรงคลิน , อัล กรีน (Al Green) และ สตีวี่ วันเดอร์ เธอได้รับอิทธิพลจากดนตรีแนวกอสเปล และนักร้องแนวกอสเปลที่เธอชื่นชอบคือ เดอะ คลาร์ก ซิสเตอร์ส (The Clark Sisters) , เชอร์ลีย์ เซซาร์ (Shirley Caesar) และ เอดวิน ฮอกินส์ (Edwin Hawkins)

สไตล์เพลง และ ความสามารถ
มารายห์ แครีเป็นนักร้องโคโลราทูราโซปราโน (coloratura soprano คือนักร้องระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิงที่สามารถใช้เสียงได้หลากหลายด้วยเทคนิคอันแพรวพราวและร้องเสียงเฮดโทนวอยซ์ได้) บางทีคำกล่าวนี้อาจจะเกิดจากการเข้าใจผิดเกี่ยวกับความสามารถในการใช้เสียงของเธอในการร้องเสียงสูงใน whistle register โดยเฉพาะโน้ตเพลงในออกเตฟที่เจ็ด

เสียงร้อง
แครีมักจะเขียนเพลงที่มีเนื้อเพลงเกี่ยวกับความรัก บางครั้งเธอก็ได้เขียนเนื้อเพลงที่เกี่ยวกับการเหยียดสีผิว ความตาย ความหิวโหย และเรื่องของความเชื่อจิตและวิญญาณ โดยภาคดนตรี ได้ใช้เครื่องดนตรีอีเลคโทรนิค เช่น ดรัม แมชชีน, คีย์บอร์ด และ เครื่องสังเคราะห์เสียง โดยหลายๆเพลงของเธอจะมีเปียโนประกอบอยู่ด้วย แครีเคยเรียนเปียโนตอนอายุ 6 ขวบ แต่เธอบอกว่าเธอไม่สามารถอ่านโน้ตได้แต่ชอบที่จะร่วมแต่งเพลงกับนักเปียโนเวลาแต่งเพลง และมันง่ายกว่าที่จะทดลองด้วยการรวมเมโลดี้และโครงสร้างคอร์ดด้วยวิธีนี้ การเรียบเรียงเพลงของแครีได้รับอิทธิพลจากสตีวี่ วันเดอร์ ที่เธอเคยยกยอว่าเป็นอัจฉริยะแห่งศตวรรษที่ 20
แครียังคงร่วมงานการทำเพลงรีมิกซ์กับโปรดิวเซอร์อย่าง เดวิด โมราเลส ,เจอร์เมน ดูปริ,จูเนียร์ วาสเควซ และ ดีเจ คลูย์

ธีมและสไตล์เพลง
แครีเธอได้เป็นคนใจบุญใจกุศล ได้ร่วมการบริจาคเงินนับล้านๆดอลล่าร์ให้กับองค์กรการกุศลอย่างเช่น เมค-อะ-วิช ฟาวเดชัน (Make-A-Wish Foundation) , เนชันนอลอะดอบชันเซ็นเตอร์ (National Adoption Center) , โครงการของวีเอชวันเซฟเดอะมิวสิก (Save The Music Foundation) ,เฟร็ชแอร์ฟันด์ (Fresh Air Fund)

กิจกรรมการกุศล และ กิจกรรมอื่นๆ
แครี มีออกผลงานอัลบั้มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 โดยมีผลงานทั้งหมด 14 อัลบั้ม โดยเป็นสตูดิโออัลบั้ม 10 อัลบั้ม อัลบั้มรวมเพลง 2 อัลบั้ม อัลบั้มรีมิกซ์ 1 อัลบั้ม อัลบั้มอีพี 1 อัลบั้ม โดยมี 5 อัลบั้มที่ขึ้นอันดับ 1 บนอันดับอัลบั้มในอเมริกา
ดูบทความหลักที่ ผลงานของมารายห์ แครี

ผลงานเพลง
Mariah Carey (1990) #1 US 11 สัปดาห์
Emotions (1991) #4 US
Music Box (1993) #1 US 8 สัปดาห์
Merry Christmas (1994) #3 US
Daydream (1995) #1 US 6 สัปดาห์
Butterfly (1997) #1 US 1 สัปดาห์
Rainbow (1999) #2 US
Glitter (2001) #7 US
CharmbraceletMariah Carey (2002) #3 US
The Emancipation of Mimi (2005) #1 US 2 สัปดาห์

สตูดิโออัลบั้ม
MTV Unplugged (1992) #3 US
# 1's (1998) #4 US
Greatest Hits (2001) #52 US
The Remixes (2003) #26 US

อัลบั้มอื่นๆ

1991: The First Vision
1992: MTV Unplugged +3
1994: Here Is Mariah Carey
1996: Fantasy: Mariah Carey at Madison Square Garden
1999: Around the World
1999: #1's ทริบิ้วต์อัลบั้ม

1993: Music Box Tour
1996: Daydream World Tour
1998: Butterfly World Tour
2000: Rainbow World Tour
2003–2004: Charmbracelet World Tour
2006: The Adventures of Mimi Tour

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550


พุทธศักราช 1102 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 559 - มีนาคม ค.ศ. 560
มหาศักราช 481 ค.ศ. 559 วันเกิด

วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ไอโมบายไอโมบาย
ไอ-โมบาย (i-mobile) เป็นเครื่องหมายการค้าโทรศัพท์มือถือของบริษัท สามารถ ไอ-โมบาย จำกัด ( มหาชน ) หนึ่งในกลุ่มบริษัทสามารถ โดยเน้นการตลาดที่ราคาต่ำกว่าคู่แข่งในระดับเดียวกัน จำหน่ายในประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา ศรีลังกา บังกลาเทศ และลาว โดยบริษัท ไอ-โมบาย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

รายชื่อผลิตภัณฑ์

วันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ค.ศ. 391
พุทธศักราช 934 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 391 - มีนาคม ค.ศ. 392
มหาศักราช 313 วันเกิด

สายสวรรค์ ขยันยิ่ง
สายสวรรค์ ขยันยิ่ง (หนิง) เป็นผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการโทรทัศน์ ของสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี มานานกว่า 10 ปี ปัจจุบันเป็นพิธีกรช่วงเล่าข่าว รายการจมูกมด สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และเป็นวิทยากรพิเศษในงานอบรมและสัมมนาของหน่วยงานต่างๆ

สายสวรรค์ ขยันยิ่ง การศึกษา

รางวัลชนะเลิศ โครงการ ITV Award 1997 ประเภทผู้ประกาศข่าวหญิง ปี 2540
รางวัลพระราชทานประเภทผู้อ่านข่าวที่ใช้ภาษาไทยดีเด่นทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ จากกรมประชาสัมพันธ์ ปี 2544-46
รางวัล Star Entertainment Award ปี 2545 ประเภทผู้ประกาศข่าวหญิงดีเด่น ของสมาคมนักข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย
รางวัลพระราชทานประเภทผู้อ่านข่าวที่ใช้ภาษาไทยดีเด่นทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ จากกรมประชาสัมพันธ์
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประเภทผู้ประกาศข่าวหญิงดีเด่น จากสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย
รางวัลพระราชทาน "เทพทอง" ประเภทบุคคลดีเด่น ด้านวิทยุโทรทัศน์ ปี 2546

วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ปกรณ์ ลัม
ปกรณ์ ลัม เกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2522 เชื้อชาตินั้นก็มี ไทย-เยอรมัน-สิงคโปร์ ศึกษาด้านซาวด์เอ็นจีเนียร์ที่สหรัฐอเมริกา
เคยเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับเป๊ปซี่ กางเกงยีนส์แอดด้า เป็นต้น ทางด้านผลงานภาพยนตร์เรื่องเคยแสดงเรื่อง อนึ่ง...คิดถึงพอสังเขป 2 เมื่ออายุประมาณ 15 ปี ทางด้านงานเพลง เคยเป็นศิลปินสังกัดอาร์เอส ปัจจุบันเป็นนักร้องวง Nologo ในค่ายมอร์มิวสิก เครือแกรมมี่
ทางด้านผลงานเพลง ออกอัลบั้ม Dome , อัลบั้ม Dangerous Dome,อัลบั้มพิเศษ Dome Reaction,อัลบั้ม Dome Question เมื่อยายค่ายมาอยู่มอร์มิวสิกได้ออกผลงานในนาม Nologo มีผลงาน 2 ชุดคือ How To Be The Rock Star และ Mosaic
ในปี พ.ศ. 2550 ได้พากย์เสียงในภาพยนตร์เรื่อง Fantastic Four: Rise of the Silver Surfer (2007) ให้เสียงเป็นจอห์นนี่ สตอร์ม/คนพลังโลกันต์

วันศุกร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ประเทศคีร์กีซสถาน
จังหวัดนครจัมปาศักดิ์ เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่ประเทศไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในช่วง พ.ศ. 2484 โดยยกท้องที่การปกครองเมืองจำปาศักดิ์ ซึ่งเดิมขึ้นอยู่กับมณฑลอุบลราชธานีในสมัยรัชกาลที่ 5 และตกอยู่ภายใต้ความปกครองของฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2447 ขึ้นเป็นจังหวัด ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยต้องส่งดินแดนดังให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งผู้ปกครองประเทศลาวในขณะนั้น ภายหลังเมื่อประเทศลาวได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสแล้ว พื้นที่ดังกล่าวจึงได้ยกขึ้นเป็นแขวงจำปาสักของลาวในปัจจุบัน
อนึ่ง พื้นที่ของจังหวัดนี้ยังกินอาณาบริเวณพื้นที่ส่วนหนึ่งของจังหวัดสตึงแตรง และพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพระวิหาร ในประเทศกัมพูชาในปัจจุบันนี้ด้วย
กรมศิลปากรได้กำหนดให้จังหวัดจัมปาศักดิ์ใช้ตราประจำจังหวัดเป็นรูปปราสาทหินวัดภู อันเป็นโบราณสถานสำคัญของเมืองจำปาสัก อย่างไรก็ตาม ในหนังสือตราประจำจังหวัดของกรมศิลปากร พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2542 ไม่ได้ลงพิมพ์รูปตราดังกล่าวไว้ด้วย

การจัดการปกครอง
เมื่อแรกตั้งจังหวัดนั้น ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 6 อำเภอ ตามประกาศเรื่องตั้งอำเภอ ลงวันที่ 23 กรกฎาคม พุทธศักราช 2484 ดังนี้
ต่อมาทางการได้ปรับปรุงเขตการปกครองจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ใหม่ โดยโอนท้องที่อำเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพิบูลสงคราม มาขึ้นจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ ทำให้จังหวัดนครจัมปาศักดิ์มีเขตการปกครองจนถึง พ.ศ. 2489 รวมทั้งสิ้น 6 อำเภอ คือ อำเภอเมืองนครจัมปาศักดิ์ อำเภอวรรณไวทยากร อำเภอธาราบริวัตร อำเภอมะโนไพร อำเภอจอมกระสานติ์ และกิ่งอำเภอโพนทอง

อำเภอเมืองนครจัมปาศักดิ์ (ตามเขตอำเภอนครจัมปาศักดิ์เดิม)
อำเภอวรรณไวทยากร (ตามเขตอำเภอมูลปาโมกเดิม)
อำเภอธาราบริวัตร (ตามเขตอำเภอธาราบริวัตรเดิม)
อำเภอมะโนไพร (ตามเขตอำเภอมะโนไพรเดิม)
กิ่งอำเภอโพนทอง (ตามเขตกิ่งอำเภอโพนทองเดิม)

วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2550

CC
CC Cc หรือ cc เป็นอักษรย่อของ:
สำหรับ CC ในความหมายของเลขโรมัน เท่ากับจำนวน 200


หน่วยปริมาตร ซีซี ดูได้ที่บทความ ลูกบาศก์เมตร
ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons, CC) เกี่ยวกับลิขสิทธิ์/สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ์
รหัสประเทศ (country code)
Correct Century - ยุคสมัยที่แต่งขึ้นในการ์ตูนเรื่อง เทิร์นเอกันดั้ม

วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2550


มหาวิทยาลัยโตเกียว (「東京大学」 Tōkyō Daigaku – โทเคียวไดงะคึ) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำของประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียวประกอบด้วยห้าศูนย์ คือฮองโงะ โคมะบะ คะชิวะ ชิโระงะเนะ และ นากาโนะ รวมถึงสิบคณะซึ่งมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 30,000 คน ในจำนวนนี้มีนักศึกษาต่างชาติประมาณ 2,100 คนเป็นนักศึกษาไทยประมาณ 150 คน (ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงทีสุดในบรรดามหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น) ปัจจุบันหลักสูตรครอบคลุมสาขาวิทยาการเกือบทั้งหมดแต่มหาวิทยาลัย จะมีหลักสูตรที่เป็นจุดแข็งคือ กฎหมายและวรรณกรรม มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตนักการเมืองญี่ปุ่นจำนวนมาก นับแต่อดีตจนปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วนจะลดลงก็ตาม อัตราส่วนของรัฐมนตรีที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียวยังคงสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น โดยแต่ละช่วงคริสตศตวรรษจะอยู่ที่ประมาณ 2/3 1/2 1/4 1/5 และ1/6 ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1950 60 70 80 และ 90 ตามลำดับ
มหาวิทยาลัยโตเกียวมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับว่า เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในหลากหลายสาขาวิชา โดยมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งอยู่หกมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยจักรพรรดิซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หรือมหาวิทยาลัยเกียวโตซึ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลมากกว่ามหาวิทยาลัยโตเกียวเสียอีก หนึ่งในศิษย์เก่าเจ้าของรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยโตเกียวคืออธิการบดีมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพิเรียลชื่อ ศาสตราจารย์ คิคุจิ ไดโรกุ
ทีมเบสบอลมหาวิทยาลัยโตเกียว ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัยของกรุงโตเกียว
ศูนย์ฮองโหงะเป็นศูนย์หลักของมหาวิทยาลัยซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของตระกูล "มาเอดะ" ช่วงสมัยเอโดะผู้เป็นเจ้าเมืองเคหงะ สัญลักษณ์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักและอยู่จนปัจจุบันของมหาวิทยาลัยคือ "อะกามง" (ประตูแดง) ส่วนตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นรูปใบแปะก๊วย ซึ่งปลูกอยู่เรียงรายทั่วทั้งบริเวณของมหาวิทยาลัย

ประวัติ

คณะ

นิติศาสตร์และรัฐศาสตร์
แพทยศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์
มนุษยวิทยาและสังคมศาสตร์
วิทยาศาสตร์
เกษตรศาสตร์และชีวศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
ศิลปศาสตร์และวิทยาการ
ศึกษาศาสตร์
เภสัชศาสตร์
วิทยาการคณิตศาสตร์
วิทยาการล้ำยุค
วิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาสารสนเทศเชิงบูรณาการ
นโยบายสาธารณะ บัณฑิตวิทยาลัย

สถาบันวิทยาการเวชศาสตร์
สถาบันวิจัยแผ่นดินไหว
สถาบันวัฒนธรรมตะวันออก
สถาบันสังคมศาสตร์
สถาบันศึกษาสารสนเทศและการสื่อสารสังคม
สถาบันวิทยาการอุตสาหการ
สถาบันภูมิประวัติศาสตร์
สถาบันเวชศาสตร์โมเลกุลและเซลล์
สถาบันวิจัยรังสีคอสมิก
สถาบันฟิสิกส์สถานะของแข็ง
สถาบันวิจัยมหาสมุทร สถาบันวิจัย

บาสิล ฮอล ชามเบอร์เลียน (Basil Hall Chamberlain)
ชินนิจิ คิตาโอกะ (Shinichi Kitaoka) ผู้แทนญี่ปุ่นในสหประชาชาติ
ไดโรกุ คิคุจิ (Dairoku Kikuchi) คณาจารย์ที่มีชื่อเสียง

ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง

ชิเงรุ โยชิดะ (Shigeru Yoshida) (1946-1947,1948-1954)
โนบุสุเกะ คิฉิ (Nobusuke Kishi)(1957-1960)
เออิซากะ ซาโตะ (Eisaku Sato) (1964-1972)
ทะเคะโอะ (Takeo Fukuda) (1976-1978)
ยะสุฮิโหระ นากะโซเนะ (Yasuhiro Nakasone) (1982-1987)
คิอิชิ มิยาซาวา (Kiichi Miyazawa) (1991-1993) นายกรัฐมนตรี

ทะดะโตะฉิ อะกิบะ (Tadatoshi Akiba)
คิโยฉิ อิโต (Kiyoshi Itō)
เคนคิจิ อิวะซะหวะ (Kenkichi Iwasawa)
ยะสุมาสะ คาเนดะ (Yasumasa Kanada)
คุนิฮิโกะ โคไดระ (Kunihiko Kodaira)
มิคิโอะ ซาโตะ (Mikio Sato)
โกโหระ ชิมูระ (Goro Shimura)
ยูทะกะ ทะนิยาหมะ (Yutaka Taniyama)
เทจิ ทะกะหงิ (Teiji Takagi)
โทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ (Tosiyasu L. Kunii) มหาวิทยาลัยโตเกียว นักวิทยาศาสตร์

โตโยโอะ อิโต สถาปนิก
ซูซิโล แบมแบง ยุโธโยโน่ (Susilo Bambang Yudhoyono) ประธานาธิบดีคนที่หกของอินโดนีเซีย
เลโอ เอซากิ (Leo Esaki) นักฟิสิกส์รางวัลโนเบล
ยะสุนะหริ คาวะบาตะ (Yasunari Kawabata) นักเขียนรางวัลโนเบล
มะสะโตชิ โคชิบะ (Masatoshi Koshiba) นักฟิสิกส์รางวัลโนเบล
เคนซะบุโหระ โอเอะ (Kenzaburo Oe) นักเขียนรางวัลโนเบล
เจ้าหญิงมาซะโกะ (Princess Masako) เจ้าหญิงแห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียว อื่น ๆ

ศาสตราจารย์นายแพทย์สมอาจ วงษ์ขมทอง (Som-Arch WongKhomtong) - อดีตศาสตราจารย์ประจำของคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว และ อดีตผอ.สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
ดร.สามารถ ราชพลสิทธิ์ - รองผู้ว่าการกรุงเทพมหานคร ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมจราจรและขนส่งวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ คนไทย
สระน้ำซันชิโหระ ตั้งอยู่ใจกลางมหาวิทยาลัยศูนย์ฮองโหงะ ก่อสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1615 หลังจากการพังทลายของปราสาทโอซาก้า ท่านโชกุนในสมัยนั้นจึงพระราชทานสระน้ำและสวนรอบ ๆ ให้กับ"มาเอดะ โทชิทซิเหนะ" โดย"มาเอดะ ทซินะโนหริ"เป็นคนพัฒนาสวนเพิ่มเติมจนกลายเป็นสวนที่สวยงามที่สุดใน เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ด้วยภูมิสถาปัตย์แบบดั้งเดิมแปดแบบแบ่งเป็นแปดบริเวณ ส่วนที่มีชื่อเสียงคือสระน้ำเทียม เนินเขา และคุ้มต่างๆ แต่เดิมรู้จักกันในชื่อว่า "อิคึโตะกุ เอ็น" ซึ่งหมายถึง"สวนแห่งการเผยแผ่พระธรรม" เส้นรอบขอบของสระน้ำจะเป็นรูปหัวใจหรือ "โคะโคะโหระ" หรือ "ชิน" ดังนั้นชื่ออย่างเป็นทางการจะเรียกว่า "อิคึโตะกุ เอ็น ชินจิอิเคะ" อย่างไรก็ตามผู้คนมักเรียกว่า สระน้ำซันชิโหระ หลังจากมีการตีพิมพ์นิยายเรื่องซันชิโหระ ของ"นัทซึเหมะ โซเซกิ"

สระน้ำซันชิโหระ

ในการ์ตูนและหนังการ์ตูนเรื่องเลิฟ ฮินะ ตัวเอกคือ เคทาโร่ อุราชิมะ เป็นนักเรียนที่พลาดการสอบเข้ามหาวิทยาลัยโตเกียวหลายหน แต่สอบได้ในท้ายสุด
การ์ตูนเรื่อง "นายซ่าส์ท้าเด็กแนว(Dragon Zakura)" เป็นเรื่องเกี่ยวกับทนายความยากจน ซึ่งเคยเป็นสมาชิกก้วนมอเตอร์ไซค์ ซึ่งพยายามสอนนักเรียนผลการเรียนแย่ ๆ ให้สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยโตเกียวได้จนจบการศึกษา
ตัวเอกในเรื่องซูเปอร์แมนของสำนักพิมพ์การ์ตูนดีซี จะเอ่ยถึงเบื้องหลังบ่อย ๆ ว่าเรียนที่มหาวิทยาลัยโตเกียวตอนเป็นคลากเคนท์
ตัวละครที่เป็นครูและนักตามสาว ชื่อ ซุกุรุ เทชิงะวะหระจากการ์ตูนและหนังการ์ตูนชื่อดัง "โอนิซึกะยอดครู" เคยเรียนที่มหาวิทยาลัยโตเกียวและชอบโม้เรื่องการศึกษาของตนเองบ่อยครั้ง มหาวิทยาลัยโตเกียวในงานเขียน
ใน ค.ศ. 2005 มหาวิทยาลัยโตเกียวถูกจัดให้เป็นอันดับ 1 ในเอเชีย จากการจัดอันดับสถาบันในระดับอุดมศึกษา โดย มหาวิทยาลัยเซียงไฮ้เจียงตง ประเทศจีน

มหาวิทยาลัยโตเกียว
มหาวิทยาลัยเกียวโต
มหาวิทยาลัยแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย
มหาวิทยาลัยโอซาก้า
มหาวิทยาลัยโตโฮะกุ
มหาวิทยาลัยฮิบรูแห่งเจรูซาเล็ม
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น
สถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียว

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2550

.bb

บทความนี้ใช้ชื่อที่ใช้อักษรในภาษาอื่น เนื่องจากต้องการคงไว้ตามต้นฉบับ หรือไม่มีชื่อภาษาไทยที่เหมาะสม
bb เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศบาร์เบโดส เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2534


วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2550

สมชัย

นายสมชัย จึงประเสริฐ กรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านสืบสวนสอบสวน
อายุ 59 ปี อดีตดำรงตำแหน่งเป็นผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา จบนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย เคยเป็นผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลอุทธรณ์ภาค 3 อธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 และอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 เคยพิจารณาคดีเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาหลายคดี


วันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2550

�
สารบัญ
พ.ศ. 2550 พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ(คมช.) ร่วมประชุมกับ สิทธิชัย โภไคยอุดม รมว.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ไอซีที) รวมถึงคณะกรรม การ บมจ.ทีโอที(TOT) และ บมจ.กสท โทรคมนาคม(CAT) เพื่อหาทางรวบรวม งานที่ซ้ำซ้อนต่างๆของกิจการการสื่อสารในประเทศไทย มีมติให้จัดตั้งโครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติขึ้น


โครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติ
แนวคิดและการปฏิบัติ
ข้อดีทำให้ลดความซ้ำซ้อนการลงทุนเพื่อการสื่อสารในประเทศและมีประสิทธิภาพในการจัดการ ข้อเสีย คือ เป็นการผูกขาดธุรกิจ


วันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2550

โรงภาพยนตร์

โรงภาพยนตร์ หรือ โรงหนัง เป็นสถานที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะสำหรับชมภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อทำธุรกิจ ให้สาธารณชนจ่ายค่าผ่านประตูเข้ามารับชม ฟิล์มภาพยนตร์จะถูกฉายจากเครื่องฉาย ให้ปรากฏภาพบนจอที่ด้านหน้าของบริเวณที่นั่งชมภายในโรงภาพยนตร์ โดยนิยมสร้างที่นั่งบนพื้นเอียง จากด้านหลังลงไปยังด้านหน้า
โรงภาพยนตร์ในปัจจุบันนิยมสร้างขึ้นในบริเวณศูนย์การค้าขนาดใหญ่ และโรงภาพยนตร์มีขนาดเล็กลง


วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2550

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) หรือชื่อภาษาอังกฤษ "The National Counter Corruption Commission" เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเ�! ��็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 9-11
การสรรหาและการเลือกกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติให้นำบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 257 และมาตรา 258 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ โดยให้มีคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจำนวน 15 คน ประกอบด้วยประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลทุกแห่ง ซ�! ��่งเลือกกันเองให้เหลือ 7 คน ผู้แทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคละ 1 คน ซึ่งเลือกกันเองให้เหลือ 5 คน เป็นกรรมการ



สารบัญ
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่ง 9 ปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีหน่วยธุรการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติที่เป็นอิสระ มีฐานะเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เรียกว่า สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า สำนักงาน ป.ป.ช.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้บังคับบัญชาขึ้นตรงต่อประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
การแต่งตั้งเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและวุฒิสภา.


ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเสนอต่อวุฒิสภาตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 หมวด 5 การถอดถอนจากตำแหน่ง
ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็น เพื่อส่งไปยังอัยการสูงสุดเพื่อฟ้องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 หมวด 6 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามมาตรา 308 ของรัฐธรรมนูญ
ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปรกติ กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม
ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 หมวด 3 การตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน
กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งและชั้นหรือระดับของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่จะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และการเปิดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี
รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่พร้อมข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ทุกปี และนำรายงานนั้นออกพิมพ์เผยแพร่ต่อไป
เสนอมาตรการ ความเห็น หรือข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล หรือคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติราชการ หรือวางแผนงานโครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ เพื่อป้องกันหรือปราบปรามการทุจริตต่อหน้าที่ การกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือการกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม
ดำเนินการส่งเรื่องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาให้ยกเลิกหรือเพิกถอนสิทธิหรือเอกสารสิทธิที่เจ้าหน้าที่ของรัฐได้อนุมัติหรืออนุญาตให้สิทธิประโยชน์หรือออกเอกสารสิทธิแก่บุคคลใดไปโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ทางราชการ
ดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริตและเสริมสร้างทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งดำเนินการให้ประชาชนหรือกลุ่มบุคคลมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งเลขาธิการ
แต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย
ดำเนินการอื่นตามที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 บัญญัติหรือกฎหมายอื่นกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

อำนาจหน้าที่คณะกรรมการ



รายชื่อคณะกรรมการ และเลขาธิการ
ประธานกรรมการ นายโอภาส อรุณินท์
กรรมการ
เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. - นายกล้านรงค์ จันทิก

พันโท กมล ประจวบเหมาะ
นายเกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม
นายณัฏฐ์ ศรีวิหค
นายประสิทธิ์ ดำรงชัย
คุณหญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา
นางฤดี จิวาลักษณ์
นายวิรัตน์ วัฒนศิริธรรม
พลโท สวัสดิ์ ออรุ่งโรจน์

ปี 2542-2546
(สิ้นสุดวาระก่อนกำหนด จากคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้จำคุกจำเลยคนละ 2 ปี แต่เนื่องจากเมื่อพิจารณาจากตำแหน่งหน้าที่ของจำเลยทั้ง 9 แล้ว โทษจำคุกศาลให้รอลงอาญาไว้ 2 ปี ฐานกระทำผิดทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ กรณีขึ้นค่าตอบแทนให้ตนเอง
ประธานกรรมการ - พล.ต.อ. วุฑฒิชัย ศรีรัตนวุฑฒิ
กรรมการ
เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. - นายศราวุธ เมนะเศวต

นายชิดชัย พานิชพัฒน์
นายเชาว์ อรรถมานะ
นายประดิษฐ์ ทรงฤกษ์
นายพินิต อารยะศิริ
นายยงยุทธ กปิลกาญจน์
นายวิเชียร วิริยะประสิทธิ์
พล.ต.ท.ดร. วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์
นายวิสุทธิ์ โพธิแท่น

วันพุธที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550

พระราชวังจันทน์

พระราชวังจันทร์ ในเมืองพิษณุโลก เป็นสถานที่ประทับขององค์พระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช และเจ้านายชั้นสูงแห่งกรุงสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา(ปัจจุบันคือโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม)
ประวัติ
พระราชวังจันทร์นี้ พระมหาธรรมราชาและพระนเรศวร ประทับที่นั้น