วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ท่าอากาศยานนานาชาติฟิลาเดลเฟีย

ท่าอากาศยานนานาชาติฟิลาเดลเฟีย (Philadelphia International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองฟิลาเดลเฟีย มลรัฐเพนซิลเวเนีย เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูเอสแอร์เวย์


�
สารบัญ



อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน

ฟรอนเทียร์แอร์ไลน์
ยูเอสแอร์เวย์
ลุฟต์ฮันซา
แอร์จาเมกา
แอร์ฟรานซ์

อาคารเทียบเครื่องบิน เอ ฝั่งตะวันตก

บริติช แอร์เวย์
มิดเวสต์แอร์ไลน์

มิดเวสต์คอดนเนคชั่น ให้บริการโดย สกายเวสต์
ยูเอสเอ 3000
ยูเอสแอร์เวย์
อเมริกันแอร์ไลน์

อเมริกันคอนเนคชั่น ให้บริการโดย โขตโกวแอร์ไลน์
อเมริกันคอนเนคชั่น ให้บริการโดย ทรานส์ สเตทส์ แอร์ไลน์

อาคารผู้โดยสาร บี และซี

คอนติเนนตัล แอร์ไลน์

คอนติเนนตัลเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เอ็กซ์เพรสเจ็ตแอร์ไลน์
เซาท์เวสต์แอร์ไลน์
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์

ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เมซาแอร์ไลน์
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย ทรานส์ สเตทส์ แอร์ไลน์
แอร์แคนาดา

แอร์แคนาดาแจ๊ซ
แอร์ทรานแอร์เวย์

อาคารผู้โดยสาร อี

ยูเอสแอร์เวย์

ยูเอสแอร์เวย์เอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โชโตโกวแอร์ไลน์
ยูเอสแอร์เวย์เอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย พีเอสเอแอร์ไลน์
ยูเอสแอร์เวย์เอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เพียดมอนต์แอร์ไลน์
ยูเอสแอร์เวย์เอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย แอร์วิสคอนซิน

วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550


สารบัญ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีที่มาเริ่มจากการเป็นแผนกไฟฟ้า ในกองบุราภิบาล กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย และก่อตั้งไฟฟ้าเทศบาลเมืองนครปฐมเป็นจังหวัดแรก เมื่อ พ.ศ. 2473 ต่อมาใน พ.ศ. 2477 มีการปรับปรุงแผนกไฟฟ้า เป็น กองไฟฟ้า สังกัดกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย และเปลี่ยนชื่อเป็น กองไฟฟ้าภูมิภาค ในภายหลัง
ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลเห็นความจำเป็นในการสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานด้านไฟฟ้า จึงออกพระราชกฤษฎีกา ซึ่งให้ไว้เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พุทธศักราช 2497 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พุทธศักราช 2497 ก่อตั้ง องค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท มีการไฟฟ้าอยู่ในความดูแล จำนวน117 แห่ง อยู่ภายใต้การควบคุมของกรมโยธาเทศบาล กร! ะทรวงมหาดไทย และรัฐบาล โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจกำกับโดยทั่วไป
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้รับการสถาปนาตามพระราชบัญญัติ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2503 ณ วันที่ 28 กันยายน 2503 โดยรับช่วงภารกิจต่อจาก องค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มาดำเนินการ อย่างต่อเนื่อง ด้วยทุนประเดิมจำนวน 87 ล้านบาทเศษ มีการ ไฟฟ้าอยู่ในความรับผิดชอบ 200 แห่ง มีผู้ใช้ไฟจำนวน 137,377 ราย และพนักงาน 2,119 คน กำลังไฟฟ้าสูงสุดในปี 2503 เพียง 15,000 กิโลวัตต์ ผลิตด้วยเครื่องกำ�! �นิดไฟฟ้า ที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซลล์ทั้งสิ้น สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าบริการ ประชาชนได้ 26.4 ล้านหน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) ต่อปี และมีประชาชน ได้รับประโยชน์ จากการใช้ไฟฟ้าประมาณ 1 ล้านคน หรือร้อยละ 5 ของประชาชนที่มีอยู่ทั่วประเทศในขณะนั้น 23 ล้านคน


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
ประวัติ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแบ่งพื้นที่รับผิดชอบออกเป็น 4 ภาค แต่ละภาคแบ่งเป็น 3 เขตย่อย

ภาคเหนือ

กฟน.1 เชียงใหม่
กฟน.2 พิษณุโลก
กฟน.3 ลพบุรี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กฟฉ.1 อุดรธานี
กฟฉ.2 อุบลราชธานี
กฟฉ.3 นครราชสีมา
ภาคกลาง

กฟก.1 พระนครศรีอยุธยา
กฟก.2 ชลบุรี
กฟก.3 นครปฐม
ภาคใต้

กฟต.1 เพชรบุรี
กฟต.2 นครศรีธรรมราช
กฟต.3 ยะลา

รายชื่อผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวง

วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550





�เหรียญกษาปณ์
เหรียญกษาปณ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) มีการใช้หอยเบี้ยและพดด้วง ในการชำระเงิน การค้าระหว่างไทยกับต่างประเทศ มีการใช้เบี้ยทองแดงในต่างประเทศ จึงมีพระราชดำริให้ทำเบี้ยทองแดงจากประเทศอังกฤษมาเป็นตัวอย่าง 3 ชนิด ในปี จ.ศ.1197 หรือ พ.ศ. 2378 เมื่อทอดพระเนตรแล้วไม่ทรงโปรดในลายตรา จึงมิได้นำออกใช้ แต่ก็ทรงพระราชประสงค์ที่จะทำเหรียญรูปก�! �มแบนอย่างสากล แต่ยังไม่สำเร็จก็เปลี่ยนรัชกาล
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) การค้าระหว่างไทยกับต่างประเทศก็ได้ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว พ่อค้าชาวต่างประเทศเข้ามาค้าขายมากขึ้นและได้นำเงินเหรียญของตนมาแลกกับเงินพดด้วงจากรัฐบาลไทยเพื่อนำไปซื้อสินค้าจากราษฎร แต่ด้วยเหตุที่เงินพดด้วงผลิตด้วยมือจึงทำให้มีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ ส่งผลให้เกิดความไม่สะดวก�! �ละการค้าของประเทศเสียประโยชน์ พระองค์จึงมีพระราชดำริที่จะเปลี่ยนรูปเงินตราของไทยจากเงินพดด้วงเป็นเงินเหรียญ ในปี พ.ศ. 2399 ได้ทดลองทำเหรียญรูปกลมแบนอย่างสากล โดยใช้ค้อนทุบตีโลหะให้เป็นแผ่นแบน แล้วตัดเป็นรูปเหรียญกลม ให้ได้ตามขนาดและน้ำหนัก แล้วใช้แม่ตราตีประทับ (HAND-HAMMERRING METHOD)แต่ผลิตได้ช้าและไม่เรียบร้อย นอกจากนี้ยังมีการใช้แม่ตราตีประทับกับเงิน�! ��หรียญต่างประเทศ เพื่อให� ��ราษฏรยอมรับ ในปี พ.ศ. 2400 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้คณะทูตไทยไปเจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรียที่ประเทศอังกฤษ สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรีย ได้จัดส่งเครื่องทำเหรียญเงินขนาดเล็กเข้ามาถวาย ทำงานด้วยแรงงานคนโดยใช้วิธีแรงอัดแบบ SCREW PRESS METHOD เป็นราชบรรณาการ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าให้จัดทำเหรีย�! �กษาปณ์จากเครื่องจักรขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกกันว่า "เหรียญเงินบรรณาการ" ในขณะเดียวกันคณะทูตก็ได้สั่งซื้อเครื่องจักรทำเงินชนิดแรงดันไอน้ำ จากบริษัท เทเลอร์ เข้ามาในปลายปี 2401 พระองค์จึงโปรดเกล้าให้สร้างโรงงานผลิตเหรียญกษาปณ์ขึ้นที่หน้าพระคลังมหาสมบัติ ในพระบรมมหาราชวัง ติดตั้งเครื่องใช้งานได้เมื่อ ปี พ.ศ. 2403 พระราชทานนามว่า "โรงกระสาปณ์สิทธิการ" ใ! นสมัยนี้จึงถือว่ามีการใ� ��้เหรียญกษาปณ์แบบสากลนิยมขึ้นเป็นครั้งแรก ต่อมาแม้ได้ประกาศให้ใช้เงินตราแบบเหรียญแล้วก็ยังโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เงินพดด้วงอยู่เพียงแต่ไม่มีการผลิตเพิ่มเติม ได้ผลิตตามแจ้งที่แจ้งแก่กระทรวงพระคลังมหาสมบัติเมื่อ ปี พ.ศ. 2438 พบว่ามีเหรียญตรามงกุฎดังกล่าวให้แลกอยู่ 6 ราคา ด้วยกัน คือ ราคา สองบาท หนึ่งบาท สองสลึง หนึ่งสลึง หนึ่งเฟื้อง และ สองไพ แต่ผลิตได้น! ้อยไม่พอแก่ความต้องการ นอกจากนี้ยังมีเหรียญ หนึ่งตำลึง กึ่งตำลึง และกึ่งเฟื้อง แต่ไม่ได้นำออกใช้ จึงเป็นพระมหากษัตริย์ไทย พระองค์แรกที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิรูปเงินตราไทย จากที่เคยใช้เงินพดด้วง หรือเงินกลมที่ใช้มาแต่โบราณกาลให้มาใช้เงินเหรียญหรือเงินแบน แบบสากล
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงมาตรา เงินตราไทย ที่ใช้อยู่ในขณะนั้น คือ ชั่ง ตำลึง บาท สลึง เฟื้อง เป็นระบบโดยใช้หน่วยเป็นบาท และสตางค์ คือ 100 สตางค์ เป็น 1 บาท ตั้งแต่ พ.ศ. 2441 อันเป็นมาตราเงินตราไทยมาจนถึงปัจจุบัน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำพระบรมรูปของพระองค์ประทับลงบนเหรียญ ซึ่งนับเป�! ��นครั้งแรกที่มีการนำพระบรมรูปของพระมหากษัตริย์ไทยประทับลงบนเหรียญกษาปณ์
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ได้มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ เริ่มจากเหรียญทองแดงและเหรียญดีบุกตราพระบรมรูป - ตราแผ่นดิน ใน พ.ศ. 2493 ผลิตเหรียญราคา 5 บาท ขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2515 ผลิตเหรียญราคา 10 บาท ขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2531 และได้มีการผลิตเหรียญกษาปณ์หมุนเวียน และเหรียญกษาปณ์ที่ระลึก รวมทั้งมีการพัฒนาจัดทำเหรียญที่ระ�! �ึก ต่อเนื่องมาจนกระทั่งปัจจุบัน คือ
1. เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน (Circulated coins) เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนกันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มี 8 ชนิดราคา คือ 10 บาท, 5 บาท และ 1 บาท 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ แต่ที่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 5 ชนิดราคา คือ 10 บาท, 5 บาท และ 1 บาท 50 สตางค์, 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ1 สตางค์ มีใช้ในทางบัญชีเท่านั้น
2. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก (Commemorative coins) เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ผลิตออกใช้ในวโรกาสและโอกาสที่สำคัญตทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันคือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หรือเหตุการณ์ระหว่างประเทศ โดยจัดทำ 2 ประเภท คือ ขัดเงา และไม่ขัดเงา
ข้อแตกต่างระหว่างเหรียญกษาปณ์หมุนเวียน และเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกก็คือการวางลวดลายด้านหน้าและด้านหลัง โดนเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนจะวางลวดลายแบบ American Turning ซึ่งจะต้องพลิกดูลวดลายด้านหลังในแนวดิ่ง สำหรับเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกได้จัดวางลวดลายแบบ European Turning ซึ่งจะต้องพลิกในแนวนอนเพื่อดูลวดลายด้านหลัง
3. เหรียญที่ระลึก (Medal) เป็นเหรียญที่ผลิตขึ้นเนื่องในวโรกาสและโอกาสที่สำคัญต่างๆ ซึ่งมีความแตกต่างจากเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกตรงที่จะ ไม่มีราคาหน้าเหรียญ เนื่องจากมิใช่เงินตราจึงไม่สามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย


วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

พระราม

ความหมายอื่นของ "พระราม" โปรดดูที่ พระราม (แก้ความกำกวม)
พระราม เป็นตัวละครเอกในเรื่องรามเกียรติ์ ตามตำนาน เล่าว่าพระรามเป็นปางที่ 7 ของพระนารายณ์หรือพระวิษณุ (รามาวตารหรือรามจันทราวตาร) อวตารลงมาเป็นโอรสท้าวทศรถ และพระนางเกาสุริยา ทรงมีพระวรกายเป็นสีเขียว ทรงธนูเป็นอาวุธ มีศรวิเศษสามเล่มคือ ศรพรหมมาตร ศรอัคนิวาต และศรพลายวาต มีนางสีดาเป็นมเหสี มีโอรสสององค์คือพระมงกุฎและพระลบ(โอรสชุบ)
พระรามมีพระอนุชา 3 พระองค์ ได้แก่ พระพรต (สันสกฤตว่า ภรต), พระลักษมณ์ (สันสกฤต : ลักษมัณ หรือ ลักษมณะ) และพระสัตรุด (สันสกฤต : ศัตรุฆน์),


วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

�ฟาร์มาโคยีโนมิกส์

ฟาร์มาโคยีโนมิกส์ (อังกฤษ:Pharmacogenomics) คือสาขาหนึ่งของวิชาเภสัชภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอิทธิพลของความแตกต่างทางพันธุกรรมซึ่งมีผลต่อการตอบสนองของยาในคนไข้ โดยความสัมพันธ์การแสดงออกของยีน (gene expression) หรือ ซิงเกิล-นูคลิโอไทด์ พอลิมอร์ฟิซึม (single-nucleotide polymorphism) กับผลของยาหรือพิษของยา จากความรู้ทางฟาร์มาโคยีโนมิกส์เช่นนี้เราคาดหวังกันว่าจะสามารถพัฒนาการใช้ยาให้มีปร�! ��สิทธิภาพสูงสุดโดยให้ยาที่เหมาะกับรูปแบบยีน (genotype) ของคนไข้เพื่อให้ได้ผลของยา (efficacy) สูงสุด และผลข้างเคียง (adverse effect) ของยาน้อยที่สุด ซึ่งจะเป็นการเปิดศักราชใหม่ของ การจ่ายยาเฉพาะบุคคล (personalised medicine) ฟาร์มาโคยีโนมิกส์คือการใช้ข้อมูลจีโนม (genome) ทั้งหมดในฟาร์มาโคยีนิติกส์(pharmacogenetics) เพื่อตรวจสอบยีนหนึ่งเดียวที่มีผลต่อยา



ดูเพิ่ม

ฟาร์มาโคยีนิติกส์ (Pharmacogenetics)
ยีโนมิกส์ (Genomics)
ท๊อกซิโคยีโนมิกส์ (Toxicogenomics)

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

กระบี่กู้บู๊ลิ้ม

กระบี่กู้บู๊ลิ้มเป็นบทประพันธ์สุดยอดของโกวเล้ง เป็นเรื่องราวของ การแย่งชิงกระบี่วิเศษในบู๊ลิ้ม ที่ร่ำลือกันว่า ไม่มีอาวุธใดในใต้หล้าทำลายมันได้ ซึ่งเป็นผลงานแปลเป็นภาษาไทยอีกเรื่องหนึ่งที่ยอดเยี่ยมของ ว.ณ เมืองลุง


วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2550



ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ (O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ ชิคาโก, มลรัฐอิลลินอยส์, สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองชิคาโกไปทางตัวะนตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร (17 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ บริหารงานโดยกรมขนส่งทางอากาศเมืองชิคาโก (City of Chicago Department of Aviation)
ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2548 โอแฮร์เคยเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ในกรณีการขึ้น-ลงของเครื่องบิน เนื่องจากในปีนั้นกรมการบินสหรัฐอเมิรกาได้ลดเที่ยวบินลง[1] เพื่อลดความล่าช้า จึงทำให้ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์-แจ็คสัน แอตแลนตากลายมาเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุด ส่วนโอแฮร์ตกมาเป็นอันดับที่ 2 และยังเป็นอันดับที่ 2 ของโลก ด้วยจำนวนผู้โดย�! �าร 76,248,911 คน ในปีพ.ศ. 2549 ลดลง 0.3% จากปีพ.ศ. 2548 [2] ท่าอากาศยานโอแฮร์ยังให้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศกว่า 60 เส้นทางบิน ในปีพ.ศ. 2548 โอแฮร์จัดเป็นประตูสู่สหรัฐอเมริกาลำดับที่ 4 เป็นรองจาก ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี ในนิวยอร์ก, ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแองเจลีส และท่าอากาศยานนานาชาติไมอามี ซึ่งมีจำนวนผู้โดยสารระหว่างเทศมาใช้บริการมากกว่า
ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมของอเมริกาเหนือตลอดช่วง 9 ปีที่ผ่านมาจากการจัดอันดับของนิตยสาร Business Traveler Magazine (พ.ศ. 2541- 2546) และ Global Traveler Magazine (พ.ศ. 2548-2549) สร้างประวัติศาสตร์การเป็นท่าอากาศยานชั้นนำของโอแฮร์[3]
ถึงแม้ว่าโอแฮร์จะเป็นท่าอากาศยานหลัก แต่ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกมิดเวย์ ซึ่งเป็นท่าอากาศยานอันดับสอง อยู่ใกล้กับย่านเศรษฐกิจของชิคาโก (Chicago Loop) มากกว่า



สารบัญ
ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2485-2486 เป็นโรงงานผลิตเครื่องดักลาส ซี-54 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เหตุที่เลือกที่ดินบริเวณนี้ก็เพราะว่าอยู่ใกล้กับตัวเมืองและการคมนาคมขนส่ง ด้วยพื้นที่ขนาด 180,000 ตารางเมตร (ประมาณ 2 ล้านตารางฟุต) ต้องการคมนาคมเข้าออกสะดวกสำหรับแรงงานจากเมืองที่กลายมาเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศ และมีทางรถไฟรองรับ ชุมชนออ�! ��์คาร์ด เพลส (Orchard Place) เป็นชุมชนเล็กๆที่ตั้งอยู่บริเวณนั้นมาก่อน จึงเรียกชื่อบริเวณนี้ว่าท่าอากาศยานออร์คาร์ด เพลส/ดักลาส ฟิลด์ (Orchard Place Airport/Douglas Field) ในช่วงระหว่างสงคราม (และเป็นที่มาของรหัส IATA - ORD) และยังเป็นคลังสรรพาวุธของการบิน 803 ซึ่งเก็บเครื่องบินหายาก หรือเครื่องบินรุ่นทดลองไว้ รวมทั้งเครื่องบินของฝ่ายข้าศึกที่ยึดมาได้ โดยเครื่องบินประวัติศาสตตร์เหล่�! �นั้นได้นำไปเก็บไว้ที่พิ พิธภัณฑ์อากาศยานแห่งชาติ (National Air Museum) ในภายหลัง
สัญญาของบริษัทดักลาส แอร์คราฟต์ สิ้นสุดลงในปีพ.ศ. 2488 และแม้ว่าตามแผนการจะสร้างที่ผลิตเครื่องบินพาณิชย์ แต่บริษัทก็เลือกที่ผลิตจากทางภาคตะวันตกมากกว่า และถึงแม้บริษัทดักลาสจะออกจากพื้นที่ไป แต่ชื่อของท่าอากาศยานยังคงใช้ท่าอากาศยานออร์คาร์ด เพลส และในปีพ.ศ. 2488 นั้นเอง เมืองชิคาโกได้เข้ามาใช้พื้นที่แห่งนี้สำหรับรองรับความต้องการการบินในอนาคต แ�! ��ะถึงแม้ว่ารหัสสนามบิน IATA จะยังคงใช้ ORD ที่มีที่มาจากชื่อเดิม แต่ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อท่าอากาศยานใหม่ในปีพ.ศ. 2492 ตามชื่อของ เอ็ดเวิร์ด บุตช์ โอแฮร์ (Edward "Butch" O'Hare) นักบินเครื่องบินรบในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้ซึ่งได้รับเหรียญกล้าหาญ Medal of Honor
จนกระทั่งช่วงต้นทศวรรษ 1950 (พ.ศ. 2493) ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกมิดเวย์ ซึ่งเป็นท่าอากาศยายหลักของชิคาโกมาตั้งแต่พ.ศ. 2474 นั้นคับแคบและหนาแน่น แม้ว่าจะได้มีการขยายแล้วก็ตาม และยังไม่สามารถรองรับเครื่องบินเจ็ตรุ่นใหม่ได้ เมืองชิคาโกและการท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกา (FAA) หันมาพัฒนาโอแฮร์ให้เป็นท่าอากาศยานหลักของชิคาโกแทน เที่ยวบินพาณาชย์เที่ยวแรกเริ่มให้�! �ริการในปีพ.ศ. 2498 หลังจากนั้นได้สร้างอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศขึ้นในปีพ.ศ. 2501 แต่เที่ยวภายภายในประเทศเส้นทางหลักยังคงใช้ที่มิดเวย์จนกระทั่งการขยายของโอแอร์แล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2505 การย้ายที่บินภายในประเทศจากมิดเวย์มายังโอแฮร์ ทำให้โอแฮร์กลายเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก รองรับผู้โดยสาร 10 ล้านคนต่อปี และในระยะเวลาเพียง 2 ปี จำนวนผู้โดยสารเ�! ��ิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในปี� ��.ศ. 2540 จำนวนผู้โดยสารถึงระดับ 70 ล้านคน และขณะนี้เพิ่มเป็น 80 ล้านคนต่อปี



ประวัติ

25 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 อเมริกันแอร์ไลน์ เที่ยวบิน 191 ตกขณะนำเครื่องขึ้น เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติลอสแองเจลีส ใน ลอสแองเจลีส มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ผู้โดยสาร 271 คน และอีก 2 คนบนภาคพื้นดิน เสียชีวิต เหตุการณ์ครั้งนี้ยังเป็นเหตุการณ์ที่มีผู้เสียชีวิตจากเครื่องบินตกมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 สมาชิกกลุ่มอัลกออิดะ โจเซ่ พาดิลลา (Jose Padilla) ถูกจับกุมขณะที่เครื่องบินที่เขานั่งมาลงจอดเพื่อตรวจค้นระเบิดที่ติดตั้งไว้ตามการรายงาน
7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 พนักงานของยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ได้แจ้งความว่ามองเห็นเครื่องบินรูปร่างคล้านจาน พนักงานเหล่านั้น รวมทั้งนักบินกล่าวว่ามองเห็นวัตถุลอยเหนือท่าอากาศยานก่อนที่พุ่งตัวผ่านกลีบเมฆขึ้นไป การท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาได้รับรายงานว่ามีเจ้าหน้าที่ระดับสูงได้โทรมาที่หอบังคับการบินโอแฮร์และสอบถามถึงบุคคลที่ได้มองเห็นวัตถุประหลาด แต่เจ้า�! ��น้าที่หอบังคับการบินได้กล่าวตอบอะไร และจากการตรวจสอบเรดาห์ก็ไม่พบวัตถุอะไรที่ผิกปกติ

อุบัติเหตุ
ปริมาณการใช้บริการจำนวนมากและปัญหาความหนาแน่นทำให้มีการยกเลิกเที่ยวบิน และทำให้เกิดความล่าช้าที่โอแฮร์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบินทั่วสหรัฐอเมริกา มีรายงานอย่างเป็นทางการว่าโอแฮร์เป็นท่าอากาศยานที่ตรงต่อเวลาน้อยที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยวัดจากสัดส่วนของเที่ยวบินที่เกิดความล่าช้า ในปีพ.ศ. 2547 ยูไนเต็ด แอร์ไลน์ และอเมริกัน แอร์ไลน์ มีข้อตกลงร่วมก! ันที่จะปรับเปลี่ยนตารางเวลาบินเพื่อลดความคับคั่งทั้งขาเข้าและขาออก และเพราะการจราจรทั้งขาเข้า ขาออก และท่าอากาศยานบริเวณใกล้เคียง เจ้าหน้าที่หอบังคับการบินของโอแฮร์และเจ้าหน้าที่ฝ่ายอื่นๆต้องทำงานหนักมากที่สุดในโลก เนื่องด้วยปริมาณเที่ยวบินจำนวนมากต่อชั่วโมง
เมืองชิคาโกได้อนุมัติวงเงินทุน 6 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของท่าอากาศยานอีกร้อยละ 60 และลดความล่าช้าลงประมาณร้อยละ 79[4] โดยแผนงานนี้ได้รับอนุมัติจากการท่าอากาศยานสหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งเกี่ยงข้องกับการขยายพื้นที่ของท่าอากาศยานและอาคารผู้โดยสาร โดยจะมีทางวิ่ง 4 เส้น ที่สร้างเพิ่ม และรื้อถอนออกไป 3 เส้น ซึ่งจะทำให้มี�! ��างวิ่งขนานกันทั้งหมด 8 เส้น คล้ายกับกรณีของดัลลาส โดยจะทำให้โอแฮร์ขยายขีดความสามารถที่จำกัดเพื่อที่โอแฮร์จะไม่เพลี้ยงพล้ำให้กับท่าอากาศยานใดๆ ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารในอนาคต แผนการปรับปรุงนี้ได้เริ่มลงมือก่อสร้างแล้ว หลังจากที่เกิดความล่าช้ามานาน และทางวิ่งใหม่เส้นแรกคาดว่าจะแล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2551-2552 และจะขยายอาคารผู้โดยสาร 3 และ 5 ส่วนอาคารผู้�! ��ดยสารหลังใหม่จะตั้งอยู� �สุดทางฝั่งตะวันตกของพื้นที่ พร้อมกับทางเข้าออกใหม่ อย่าไรก็ตามจะต้องมีการเวนคืนที่ดินบางส่วน ประมาณ 2,800 ครัวเรือน โครงการนี้จะทำให้ท่าอากาศยานแห่งนี้สามารถรองรับการจราจรได้มากกว่า 3,800 เที่ยวบินต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันที่ประมาณ 2,700 เที่ยวบินต่อวัน และจะทำให้ความสามารถในการรองรับจำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ระยะที่ 1 ของแผนปรับปรุง

ระยะที่ 2

ระยะที่ 3

ทิศทางทางวิ่งเมื่อเสร็จสิ้นตามแผน




แผนปรับปรุง
มีการรวมตัวกันของชุมชนเบนเซนวิลล์ และเอลก์กรูฟวิลเลจ ในรัฐอิลลินอยส์ ขึ้นเป็นคณะกรรมการชุมชนรอบบเมืองโอแฮร์ (Suburban O'Hare Commission)[5] เพื่อต่อต้านแผนปรับปรุงท่าอากาศยาน เพราะจะทำให้บ้านเรือน และธุรกิจร้านค้าต้องย้ายออกไปจากพื้นที่ ถึงแม้ว่าข้อเรียกร้องจะไม่ประสบผลสำเร็จมากนัก แต่ก็ได้คำสั่งศาลให้คุ้มครองชั่วคราวให้ระงับการขยายท่าอากาศยานออกไปก่อน อย! ่างไรก็ตามคำสั่งคุ้มครองก็ยกเลิกไปในภายหลังไม่นานนัก นอกจากนี้ทางคณะกกรมการชุมชนได้ยื่นข้อเสนอให้หันไปพัฒนาท่าอากาศยานอับราฮัม ลิงคอล์น เนชั่นเนลแทน เพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ แต่ไม่มีสายการบินใดตอบรับข้อเสนอนี้
ในปีพ.ศ. 2538 เมืองชิคาโก และเมืองแกรี่ ในมลรัฐอินดีแอนา ได้จับมือกันตั้งกรรมการบริหารท่าอากาศยานนานาชาติแกรี่/ชิคาโกขึ้นมาปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้ขึ้นมาเป็นท่าอากาศยานอันดับ 3 ที่รองรับเมืองชิคาโก แต่แผนปฏิบัตินี้มีขนาดเล็กกว่าข้อเสนอปรับปรุงท่าอากาศยานอับบราฮัม ลินคอล์น แต่แกรี่/ชิคาโกก็มีความพร้อมตรงที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่กว่าชิคาโกมิดเวย�! �� รวมทั้งมีทางวิ่งให้บริการที่ยาวกว่าทางวิ่งที่ยาวที่สุดของชิคาโกมิดเวย์ อย่างไรก็ตามรัฐบาลรัฐอิลลินอยส์ก็ไม่ได้เห็นพ้องกับเมืองชิคาโกเท่าใดนัก มีเพียงผู้ว่าการรัฐอินเดียนา มิตช์ แดเนียลส์ ที่ให้การสนับสนุนเงินทุนพัฒนาท่าอากาศยาน ซึ่งขณะนี้กำลังก่อสร้างขยายขนาดทางวิ่งอยู่ และองค์กรการบินสหรัฐอเมริกา (FAA) ก็เห็นชอบกับโครงการนี้ และเห็นควา�! ��จำเป็นในการขยายขีดความ� �ามารถทั้งของโอแฮร์ และแกรี่/ชิคาโก เพื่อรองรับเมืองชิคาโก
นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโก/ร็อคฟอร์ด ในเมืองร็อคฟอร์ด ที่มีความพยายามเสนอตัวเป็นทางเลือกเพื่อลดความแออัดของโอแฮร์ ปัญหาที่สำคัญของท่าอากาศยานแห่งนี้ก็คือ การจราจรระหว่างท่าอากาศยานกับโอแฮร์กับตัวเมืองชิคาโก ที่ยังไม่พร้อมที่ระรองรับการขยายตัว แต่นายกเทศมนตรีคนปัจจุบันของเมืองร็อคฟอร์ด แลร์รี่ มอร์ริสซีย์ ก็ได้เร่งสร้างระบ�! ��รถไฟความเร็วสูงระหว่างชิคาโก/ร็อคฟอร์ดและโอแฮร์ เพื่อสร้างโอกาสของท่าอากาศยานในอนาคต
ท่าอากาศยานนานาชาติเจเนรัลมิตเชลล์ ในมิลวอกี มลรัฐวิสคอนซิน เป็นท่าอากาศยานอีกแห่งหนึ่งที่เสนอตัวเป็นทางเลือกของเมืองชิคาโก และเมืองทางตอนเหนือของอิลลินอยส์ และยังมีระบบรถไฟแอมแทร็ก เชื่อมต่อระหว่างท่าอากาศยานมิตเชลล์และเมืองชิคาโกอยู่แล้ว



การต่อต้าน และทางเลือกอื่น
ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์มีอาคารผู้โดยสาร 4 หลัง โดยกำลังพิจารณาก่อสร้างเพิ่มอีก 2 หลังหรือมากกว่า และมีความเป็นไปได้สูงที่จะสร้างกลุ่มอาคารผู้โดยสารทางฝั่งตะวันตกเพิ่มเติม



อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน
เที่ยวบินระหว่างประเทศจะให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร 5
อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศเดิมที่สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2498 ถูกแทนที่ด้วยอาคารผู้โดยสาร 1 ในปัจจุบันเมื่อปีพ.ศ. 2530 ซึ่งออกแบบโดยเฮลมุต ยาห์น



อาคารผู้โดยสาร 1 (อาคารผู้โดยสารยูไนเต็ดแอร์ไลน์)

ลุฟต์ฮันซา (แฟรงก์เฟิร์ต, มิวนิก)

ลุฟต์ฮันซา ที่ให้บริการโดย ไพรแวตแอร์ (ดัสเซลดอร์ฟ)
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์

ภายในประเทศ: (กรีนส์โบโร, แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, โคลัมบัส, แจ๊คสันวิลล์ (เฉพาะฤดูกาล), แจ็คสันโฮล, ชาร์ลอตต์, ซอลต์เลกซิตี, ซาคราเมนโต, ซานโจเซ (CA), ซานดิเอโก, ซานฟรานซิสโก, ซานแอนโตนิโอ, ซานฮวน, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์น เคนตักกี, ซีแอตทัล/มาโคมา, เซนต์โธมัส, เซนต์หลุยส์, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, ดีทรอยส์, เดนเวอร์, เดย์ตัน, เดส มอนส์, นิวยอร์ก-ลากวาเดีย), นูอาร์ก, บอยส์, บอสตัน, �! �ับฟาโล, บัลติมอร์/วอชิงตัน, เบอร์ลังตัน, โบซแมน (เฉพาะฤดูกาล), ปาล์มสปริง (เฉพาะฤดูกาล), โปรวิเดนซ์, พอร์ทแลนด์ (OR), พิตส์เบิร์ก, ฟิลาเดเฟีย, ริชมอนด์, โรเชสเตอร์ (NY), วอชิงตัน-ดัลเลส, วอชิงตัน-เรแกน, เวสต์ปาล์มบีช, สโปเคน, ออลบานี, ออเรนจ์เคาน์ตี, อังกาเรจ (เฉพาะฤดูกาล), อินเดียนาโปลิส, แอตแลนตา, โอกลาโฮมาซิตี, โอ๊คแลนด์, โอมาฮา, ฮอนโนลูลู, ฮาร์ทฟอร์ด/สปริงฟิลด์, ฮุสตัน-อิ�! ��เตอร์คอนติเนนตัล, แฮริสเ บิร์ก)
ระหว่างประเทศ: (แกรนเคย์แมน, คาลแกรี, โคซูเมล, ซานโจเซเดลคาโบ, ซานเปาโล-กัวรูลอส, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, โซล-อินชอน, โตเกียว-นาริตะ, โทรอนโต-เพยีร์สัน, ไทเป-เถาหยวน, นาโงยา-เซนแทรย์, เบอร์มิวดา, ปักกิ่ง, ปารีส-ชาร์ลเดอโกล, เปอร์โตวัลลาร์ตา, แฟรงก์เฟิร์ต, มอนเตโกเบย์, เม็กซิโกซิตี, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ลิเบอเรีย, วินนิเป็ก, แวนคูเวอร์, สิงคโปร์, อัมสเตอร์ดัม, อารูบา, ฮ่องกง)
เท็ด ให้บริการโดย ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ (แคนคูน, ซานโจเซเอลคาโบ, ซานอวน, แทมป้า, เปอร์โตวัลลาร์ตา, ฟอร์ตโลเดอเดล, ฟินิกซ์, ไมอามี, ลาสเวกัส, ออร์แลนโด)
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โกเจ็ตแอร์ไลน์ (แจ็คสันวิลล์ (เฉพาะฤดูกาล), ซานแอนโตนิโอ, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, ซีราคูส, เซนต์หลุยส์, ตูลซา, แมนเชสเตอร์ (NH), โมลีน/ควอดซิตี (จนถึงวันที่ 23เมษายน 2550), โอมาฮา)
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย ชัตเติลอเมริกา (แกรนแรปิดส์, แคนซัสซิตี, โคลัมบัส, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, เดสมอนส์, นิวออร์ลีน, บับฟาโล, ฟอร์ทไมเยอส์, มอนทรีอัล, มินนีอาโปลิส/เซนต์ปอล, เมียร์เทิลบีช, ราเลน/เดอร์แฮม, ไวท์เพลนส์, ออตตาวา, ออลบานี, ออลบูเควิก, อินเดียนาโปลิส, แอตแลนตา, ฮาร์ทฟอร์ด/สปริงฟิลด์, ฮาลิแฟก (เริ่ม 7 มิถนายน 2550), ฮุสตัน-อิ�! �เตอร์คอนติเนนตัล)
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โชโตโกวแอร์ไลน์ (ซีราคูซ, เซาท์เบนด์, บับฟาโล, โรเชสเตอร์ (NY), หลุยส์วิลล์, อินเดียนาโปลิส)
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย ทรานสเตทแอร์ไลน์ (ซีราคูซ, เซนต์หลุยส์, เซาท์เบนด์, บลูมิงตัน, เบอร์ลิงตัน, พอร์ทแลนด์ (ME), มอนทรีอัล, มิลโวกี, แมดิสัน, แมนเชสเตอร์ (NH), โมลีน/ควอดซิตี, ราเลน/เดอร์แฮม, ริชมอนด์, ไวท์เพลนส์, ออลบานี, โอมาฮา, แฮริสเบิร์ก)
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เมซาแอร์ไลน์ (กรีนวิลล์ (SC), แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, คาลแกรี, แคนซัสซิตี, โคลัมบัส, โคลัมเบีย, โคโลลาโดสปริงส์, ชาร์ล๊อตต์, ชาร์เลสตัน (SC), ซาวันนาห์, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ซีราคูส, เซาท์เบนด์, เดย์โทนาบีช, เดสมอนส์, ตูลซา, ทราเวิร์สซิตี, แนชวิลล์, บอยส์, เบอร์มิงแฮม (AL), มิลโวกี, เมมฟิส, แมนเชสเตอร์ (NH), โมลีน/ควอดซิตี, ราเลน/เดอร์แฮม, โรเ�! ��สเตอร์ (NY), วิชิตา, ไวล์ค-แบร์/สครานตัน, สปริงฟิลด์ (IL) (เริ่ม 24 เมษายน 2550), ออสติน, อัลเลนทาวน์/เบธเลแฮม, แอตแลนตา, แอ็ปเปิลตัน)
ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย สกายเวสต์ (กาลามาซู, แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, แคนซัสซิตี, โคลัมบัส, โคโลราโดสปริงส์, แจ็คสันวิลล์ (เฉพาะฤดูกาล), ชาร์เลสตัน (WV), ซอลท์เลกซิตี, ซากีนอ, ซานแอนโตนิโอ, ซาวันนาห์, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ซีราคูส, เซาท์เบนด์, โซกซ์ฟอลส์, เดย์ตัน, เดสมอนส์, ตูลซา, ทราเวิร์สซิตี, น็อกซ์วิลล์, นอร์ฟอร์ก, แนชวิล�! �์, เบอร์มิงแฮม (AL), เบอร์ลิงตัน, โปรวิเดนซ์, พิตส์เบิร์ก, พิโอเรีย, ฟอร์ทเวย์น, ฟาเย็ตวิลล์ (AR), ฟาร์โก, มิลโวกี, เมมฟิส, โมลีน/ควอดซิตี, รัวโนก, แรปิดซิตี, ลินคอล์น, เล็กซิงตัน, แลนซิง, วัวซัว/สตีเวนพอยส์, วิชิตา, ไวค์แบร์/สแครนตัน, สปริงฟิลด์ (IL), สปริงฟิลด์/เบรนสัน, หลุยส์วิลล์, ออสติน, อัลเลนทาวน์/เบธเลแฮม, อากรอน/แคนตัน, อินเดียนาโปลิส, เอ็ดมอนตัน, เอสเปน (เฉพาะฤดูกาล), แอ�! �ปเปิลตัน, โอมาฮา, ฮุสตัน-อ� ��นเตอร์คอนติเนนตัน)
ออลนิปปอนแอร์เวย์ (โตเกียว-นาริตะ)

อาคารเทียบเครื่องบิน ซี
อาคารผู้โดยสาร 2 สร้างขึ้นเมื่อครั้งที่มีการขยายท่าอากาศยานในปีพ.ศ. 2505 พร้อมกับอาคารผู้โดยสาร 3



อาคารผู้โดยสาร 2

คอนติเนนตัล แอร์ไลน์ (นูอาร์ก, ฮุสตัน-อินเตอร์คินติเนนตัล)

คอนติเนนตัลเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย โชโตโกวแอร์ไลน์ (ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัล)
คอนติเนนตัลเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย เอ็กซ์เพรสแอร์ไลน์ (คลีฟแลนด์, นูอาร์ก, ฮุสตัน-อินเตอร์คอนติเนนตัล)
เจ็ตบลูแอร์เวย์ (นิวยอร์ก-เจเอฟเค, ลองบีช)
นอร์ทเทิร์นแอร์ไลน์ (ดีทรอยส์, มินนีอาโปลิส/เซนต์ปอล, เมมฟิส)
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์

ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส (ดูที่คองคอส บี)
แอร์แคนาดา (โทรอนโต-เพียร์สัน, มอลทรีอัล)

อาคารเทียบเครื่องบิน อี

ยูไนเต็ดแอร์ไลน์

ยูไนเต็ดเอ็กซ์เพรส (ดูที่คองคอส บี)
ยูเอสแอร์เวย์ (ชาร์ล็อตต์, พิตส์เบิร์ก, ฟิลาเดเฟีย, ฟีนิกซ์)

ยูเอสแอร์เวย์ ให้บริการโดย อเมริกันเวสต์แอร์ไลน์ (ฟีนิกซ์, ลาสเวกัส)
ยูเอสเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย รีพับบลิกแอร์ไลน์ (พิตส์เบิร์ก, ฟิลาเดเฟีย, วอชิงตัน-เรแกน)
ยูเอสเอ็กซ์เพรส ให้บริการโดย แอร์วิสคอนซิน (พิตส์เบิร์ก)

อาคารเทียบเครื่องบิน เอฟ
เที่ยวบินระหว่างประเทศจะให้บริการที่อาคารผู้โดยสาร 5
อาคารผู้โดยสาร 3 สร้างเมื่อพ.ศ. 2505 และได้มีการต่อเติมในปีพ.ศ. 2526 ในส่วนของคองคอส แอล ขณะนี้กำลังมีการปรับปรุงคาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปีพ.ศ. 2550



อาคารผู้โดยสาร 3

อเมริกันแอร์ไลน์

อเมริกันอีเกิล (กรีนเบย์, กรีนโบโร, กรีนวิลล์ (SC), กาลามาซู, แกรนแรปิดส์, คลีฟแลนด์, โคลัมบัส, โคโลราโดสปริงส์, แจ็คสัน, แจ็คสันวิลล์, ชาร์ล็อตต์, เชรฟพอร์ท (เริ่ม 10 เมษายน 2550), แชตตานูกา, แชมเปญ/เออร์บานา, ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, ซีดาร์แรปิดส์/ไอโอวาซิตี, ซีราคูส, ดีทรอยส์, ดูบัก, เดย์ตัน, เดสมอนส์, ตัน, ตูลซา, ทราเวิร์สซิตี, โทเลโด, น็อกซ์วิลล์, นอร์ฟอล์ก, นิวเบิร์�! ��, นิวยอร์ก-เจเอฟเค, แนชซู, แนชวิลล์, บลูมมิงตัน, บับฟาโล, บัลติมอร์/วอชิงตัน, บาตัน เราจ์, เบอร์มิงแฮม (AL) (เริ่ม 10 เมษายน 2550), โปรวิเดนซ์, พิตส์เบิร์ก, พิโอเรีย, เพนซาโคลา, ฟรีพอร์ท, ฟลินต์, ฟอร์ทเวย์น, ฟาเย็ตต์วิลล์ (AR), มอนทรีอัล, มาร์เกว็ตเต, มิลโวกี, เมดิสัน, เมมฟิส, โมบาย (เริ่ม 10 เมษายน 2550), โมลีน/ควอดซิตี, รัชมอนด์, โรเชสเตอร์ (MN), โรเชสเตอร์ (NY), ลาครอส, ลิตเติลร็อค, เล็กซิงตัน,! วอชิงตัน-ดัลเลส (จนถึงวัน ที่ 1 มิถุนายน 2550), วิชิตา, ไวท์เพลนส์, สปริงส์ฟิลด์ (MO), หลุยส์วิลล์, ออตตาวา, อัลบานี, อินเดียนาโปลิส, อีแวนส์วิลล์, แอตแลนตา, โอกลาโอมาซิตี, โอมาฮา, ฮันส์วิลล์, ฮาร์ทฟอร์ด/สปริงส์ฟิลด์, ฮาลิแฟก (เริ่ม 1 พฤษภาคม 2550), แฮริสเบิร์ก)

อาคารเทียบเครื่องบิน จี

อเมริกันอีเกิล (ดูที่คองคอส จี)
อเมริกันแอร์ไลน์

ภายในประเทศ: (แคนซัสซิตี, แจ็คสันโฮล (เฉพาะฤดูกาล), ซอลท์เลกซิตี, ซานโจเซ (CA), ซานดิเอโก, ซานฟรานซิสโก, ซานแอนโตนิโอ, ซานฮวน, ซีแอตเทิล/ทาโคมา, เซนต์หลุยส์, ดัลลาส/ฟอร์ทเวิร์ธ, ดีทรอยส์, เดนเวอร์, ตูลซา, ทักสัน, แทมป้า, นิวยอร์ก-ลากวาเดีย, นูอาร์ก, นิวออร์ลีนส์, แนชวิลล์, บอสตัน, ปาล์มสปริงส์, พอร์มแลนด์ (OR), ฟอร์ทเมเยอร์, ฟอร์ทลัวเดอเดล, ฟาเย็ตวิลล์ (AR), ฟิลาเดเฟีย, ฟีนิกซ์, ม! อนโทรส/เทลลูไรด์ (เฉพาะฤดูกาล), มาอุย, มินนีอาโปลีส/เซนต์ปอล, ไมอามี, ราเลน/เดอร์แฮม, เรโน/ทาโฮ, ลอสแองเจลีส, ลาสเวกัส, วอชิงตัน-เรแกน, เวสท์ปาล์มบีช (เฉพาะฤดูกาล), ออร์แลนโด, ออเรนจ์เคาน์ตี, ออสติน, อัลบูเคิร์ก, อินเดียนาโปลิส, อีเกิล/เวล (เฉพาะฤดูกาล), เอลปาโซ, แอตแลนตา, ฮอนโนลูลู, ฮุสตอน-อินเตอร์คอนติเนนตัล, เฮย์เดน/สตีมโบทสปริงส์ (เฉพาะฤดูกาล))
ระหว่างประเทศ: (คาลแกรี (เฉพาะฤดูกาล), แคนคูน, แชนนอน, ซารโจเซเดลคาโบ, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, ดับลิน, เดลลี, โตเกียว-นาริตะ, โทรอนโต-เพียร์สัน, บรัสเซลส์, ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล, เปอร์โตวัลลาร์ตา, แฟรงก์เฟิร์ต, มอนทรีอัล, เม็กซิโกซิตี, แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ), โรม-ฟิอูมิชิโน (เริ่ม 10 เมษายน 2550), ลอนดอน-ฮีทโธรว์, แวนคูเวอร์ (เฉพาะฤดูกาล), อคาพูลโค (เฉพาะฤดูกาล))

อาคารเทียบเครื่องบิน เอช

อเมริกันแอร์ไลน์ (ดูที่คองคอส เอช)

อาคารเทียบเครื่องบิน เค

เดลต้า แอร์ไลน์ (ซอลท์เลกซิตี, แอตแลนตา)

เดลต้าคอนเนคชั่น ให้บริการโดย คอมแอร์ (ซินซิเนติ/นอร์ทเทิร์นเคนตักกี, นิวยอร์ก-เจเอฟเค)
เดลต้าคอนเนคชั่น ให้บริการโดย ชัทเทิล อเมริกา (แอตแลนตา) (เริ่ม 1 พฤษภาคม 2550)
สปิริตแอร์ไลน์ (ฟอร์ทไมเยอร์, ฟอร์ทโลเดอเดล)
อเมริกันแอร์ไลน์ (ดูที่คองคอส เอช)
อลาสกาแอร์ไลน์ (ซีแอตเทิล/ทาโคมา, แองโคเรจ)
ไอบีเรีย (มาดริด)

อาคารเทียบเครื่องบิน แอล
อาคารผู้โดยสาร 4 เคยใช้เป็นอาคารผู้โดยสารระหว่างเทศในช่วงพ.ศ. 2527 - 2536 ตั้งอยู่บริเวณชั้นล่างของอาคารจอดรถ โดยผู้โดยสารระหว่างประเทศจะเชคอินที่อาคารผู้โดยสาร 4 จากนั้นจะนั่งรถบัสไปยังเครื่องบินโดยสาร จนกระทั่งอาคารผู้โดยสาร 5 เปิดให้บริการ อาคารผู้โดยสาร 4 จึงปรับเปลี่ยนเป็นอาคารรถโดยสารของระบบขนส่งชิคาโก รถบริการของโรงแรม และระบบขนส่งอื่นๆ



อาคารผู้โดยสาร 4
อาคารผู้โดยสาร 5 จะให้บริการสำหรับเที่ยวระหว่างประเทศทุกเที่ยวบิน ยกเว้นเที่ยวบินที่มาจากท่าอากาศยานที่มีศูนย์ตรวจเชคล่วงหน้าของศุลกากรสหรัฐอเมริกา (US border preclearance)


ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์
อาคารผู้โดยสาร 5 (อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ)

โกเรียนแอร์ (โซล-อินชอน)
เคย์แมนแอร์เวย์ (แกรนด์เคย์แมน)
เคแอลเอ็ม (อัมสเตอร์ดัม)
เจแปนแอร์ไลน์ (โตเกียว-นาริตะ)
เตอร์กิชแอร์ไลน์ (อัสตัยบูล-แอตตาตุก)
ทีเอซีเอ (กัวเตมาลาซิตี, ซานซัลวาดอร์)
บริติช แอร์เวย์ (ลอนดอน-ฮีทโธรว์)
บีเอ็มไอ (แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ))
ปากีสถานอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ (การาจี, ละฮอร์, แมนเชสเตอร์ (อังกฤษ), อิสลามาบัด)
เม็กซิกานา (กัวดาลาจารา, ซาเคตแคส, มอนเตอร์เรย์, มอเรเลีย, เลออน)
ยูเอสเอ 3000 (แคนคูน (เช่าเหมาลำ), ปุนตาคานา, เปอร์โตวัลลาร์ตา, ฟอร์ทไมเยอร์, มอนเตโกเบย์, เวนต์ปีเตอร์สเบิร์ก/เคลียวอเตอร์, ออร์แลนโด, ฮัวตูลโต (เช่าเหมาลำ), ฮิกซ์ตาปา/ซิฮัวตาเนโจ)
โรยัลจอร์แดนเนียน (อัมมาน)
เวอร์จิ้น แอตแลนติก แอร์เวย์ (ลอนดอน-ฮีทโธรว์) (เริ่ม 23 เมษายน 2550)
สวิตอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ (ซูริก)
ออสเตรียนแอร์ไลน์ (เวียนนา) (เริ่ม 23 พฤษภาคม 2550)
อัลอิตาเลีย (มิลาน-มัลเปนซา)
เอเชียนาแอร์ไลน์ (โซล-อินชอน)
เอลแอล (เทลอาวีฟ) (จนถึงวันที่ 17 เมษายน 2550)
เอสเอเอส (โคเปนเฮเกน, สตอกโฮล์ม-อาร์แลนดา)
แอร์เจไมกา (มอนเตโกเบย์)
แอร์ฟรานซ์ (ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล)
แอร์ลินกัส (ดับลิน, แชนนอน)
แอร์อินเดีย (เดลลี, แฟรงก์เฟิร์ต, มุมไบ, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ไฮเดอราบัด)
แอโรเม็กซิโก (กัวดาลาจารา, ดูแรนโก, เลออน, เม็กซิโกซิตี)
แอลโอที โปลิสแอร์ไลน์ (กราโก, วอร์ซอ)

อาคารเทียบเครื่องบิน เอ็ม

กาลิตตาแอร์
โกเรียนแอร์คาร์โก
คาเธย์แปซิฟิก
คาร์โก 360
คาร์โกลักซ์
เจมินิแอร์คาร์โก
เจเอแอลคาร์โก
ไชน่าเซาท์เทิร์น
ไชน่าอิสเทิร์น
ไชน่าแอร์ไลน์
ดีเอชแอล
นิปปอนคาร์โกแอร์ไลน์
โพลาร์แอร์คาร์โก
เฟเดอรัลเอ็กซ์เพรส
มาร์ตินแอร์
ยูพีเอส
ลุฟต์ฮันซาคาร์โก
สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก
แอลอิตาเลีย
อีวีเอแอร์
เอเชียนา
เอ็นดับเบิลยูคาร์โก
เอเวอร์กรีน
เอเอ็นเอคาร์โก
แอตลาสแอร์
แอร์ไชน่า
แอร์ฟรานซ์
แอโรมเอ็กซ์เพรส

สายการบินขนส่งสินค้า



สิ่งอำนวยความสะดวก
มีทางวิ่งทั้งหมด 6 เส้น วางตัวขนานกันอยู่ 3 คู่ ใน 3 ทิศทาง ทางวิ่งที่ยาวที่สุด คือ ทางวิ่ง 14R/32L ขนาด 3,962 x 60 เมตร (13,000 x 200 ฟุต) ทางวิ่ง 14L, 14R, 27L และ 27R ใช้ระบบลงจอด (Instrument Landing System) ระดับที่ 3 ส่วนทางวิ่งที่เหลือยกเว้นทางวิ่ง 04L ใช้เต็มระบบ
ทางวิ่งของโอแฮร์มีจุดตัดของทางวิ่งจำนวนมาก และสามารถก่อให้เกิดปัญหาได้จากภาวะที่สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย หรือการจราจรที่คับคั่ง หรือกระแสลม ดังนั้นเจ้าหน้าหอบังคับการบินจึงต้องรอจนกว่าทางวิ่งจะว่างโดยตลอด ถึงจะอนุญาตให้ทางวิ่งอีกเส้นที่ตัดกันใช้งานได้ และหากเจ้าหน้าที่หอบังคับการบินทำงานผิดพลาด ก็อาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ และในช่วงหล! ายปีหลังมาอุบัติเหตุที่เครื่องบินเกือบจะเฉี่ยวหรือชน หรือต้องหักหลบจนเครื่องไถลออกนอกทางวิ่งอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นแผนปรับปรุงที่ผ่านการอนุมัติไปแล้ว ก็จะช่วยแก้ปัญหากรณีนี้ไปได้อย่างมาก
ทางวิ่ง 3 ใน 4 เส้นเริ่มแรกตั้งแต่ปีพ.ศ. 2486 ได้มีการปรับเปลี่ยนให้ตรงตามมาตรฐานปัจจุบัน แล้วก็ได้มีการสร้างทางวิ่งเพิ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2498, 2512 และ 2514 จนกระทั่งปีพ.ศ. 2546 ทางวิ่งเท่า 18/36 ได้ยกเลิกการใช้งานเป็นการถาวร ปัจุบันเป็นทางขับ GG แทน
แผนปรับปรุงท่าอากาศยาน จะรือถอนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ และสร้างทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก เพิ่มขึ้นอีก 4 เส้น พร้อมทั้งขยายทางวิ่งเดิมทีวางตัวตามทิศตะวันออก-ตะวันตก 2 เส้น ส่วนทางวิ่งที่วางตัวตามทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคงใช้งานตามเดิม
ในบางครั้งทางวิ่ง 32L จะใช้ในช่วงที่สั้นลงจากความยาวจริงสำหรับนำเครื่องขึ้น โดยเครื่องบินจะขับเครื่องเข้าสู่ทางวิ่งจากทางขับ T10 (กรณีปกติ) หรือจากทางขับ M (กรณีอื่น) การใช้รูปแบบนี้ทำให้ทางวิ่งไม่ได้ใช้งานเต็มประสิทธิภาพ แต่ก็ทำให้ทางวิ่ง 09R/27L สามารถใช้งานไปได้พร้อมกัน
เนื่องจากมาตรการควบคุมเสียง โอแฮร์จึงได้รับอนุญาตให้ใช้ได้เพียงทางวิ่งเดียวระหว่างเวลา 24.00 - 06.00
ทางวิ่งใหม่ตามแผนปรับปรุงท่าอากาศยานได้เตรียมให้สามารถรองรับเครื่องเอ 380 ได้ โดยก่อสร้างให้แข็งแรงขึ้นและกว้างขึ้นเพื่อรองรับเครื่องบนขนาดใหญ่ได้



การเดินทาง
กลุ่มอาคารคลังสินค้าอยูาทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ เปิดให้บริการมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2527 แทนอาคารคลังสินค้าเดิมที่อยู่ตรงที่อาคารผู้โดยสาร 5 ในปัจจุบัน โรงผลิตเครื่องบินดักลาสเดิมที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถูกผนวกเข้ากับกองบินรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (Air National Guard) และกองบินสำรอง (Air Force Reserve) แต่ก็ได้ปิดตัวลงไปเมื่อปีพ.ศ. 2541 และขณะอยู่ระหว่างการก่อสร้างเป็! นอาคารคลังสินค้า และอาคารผู้โดยสารเที่ยวบินเช่าเหมาลำ บริเวณที่จอดเครื่องบินประกอบด้วยโรงจอดหลายหลังและมีขนาดจุเครื่องบินโบอิง 747ได้


วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง

เจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ (? - 23 พ.ย. พ.ศ. 2428) พระมารดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นธิดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ กับหม่อมเขียน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มีพี่น้องจำนวน 7 คน รวมทั้งหม่อมราชวงศ์สุวพันธ์ สนิทวงศ์ และหม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์ (เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์)
หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เข้าถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และให้พระประสูติกาลพระราชบุตร 2 พระองค์คือ
เจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 หลังให้ประสูติกาลพระราชโอรสได้ 12 วัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นผู้เลี้ยงดูพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ ทั้งสองพระองค์

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง
สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี · สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสา อัยยิกาเจ้า
สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา · พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ · พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฎ ปิยมหาราชปดิวรัดา
พระราชชายา เจ้าดารารัศมี
เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข พึ่งบุญ . ท่านเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ พระสนมเอก) · เจ้าจอมมารดาสุด กุสุมลจันทร์ . เจ้าจอมมารดาตลับ เกตุทัต . เจ้าจอมมารดามรกฎ เพ็ญกุล . เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย อิศรางกูร . เจ้าจอมมารดาอ่วม พิศลยบุตร . เจ้าจอมมารดาแช่ม กัลยาณมิตร . เจ้าจอมมารดาชุ่ม ไกรฤกษ์ · เจ้าจอมมารดาโหมด บุนนาค · เจ้าจอมมารดาจันทร์ กุสุมลจ! ันทร์ · เจ้าจอมมารดาสาย กุสุมลจันทร์ · เจ้าจอมมารดาเรือน สุนทรศารทูล · เจ้าจอมมารดาเจ้าทิพเกษร ณ เชียงใหม่ · เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร สนิทวงศ์ · เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ · เจ้าจอมมารดาทับทิม · เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว กปิตถา · เจ้าจอมมารดาพร้อม · เจ้าจอมมารดาวง · เจ้าจอมมารดาวาด · เจ้าจอมมารดาเลื่อน · เจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ · เจ้าจ�! ��มมารดาแสง · เจ้าจอมมารดา� ��หม อมาตยกุล · เจ้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค
ท้าวนารีวรคณารักษ์ (เจ้าจอมแจ่ม ไกรฤกษ์) · ท้าวภัณฑสารนุรักษ์(เจ้าจอมเพิ่ม) · ท้าววนิดาพิจาริณี(เจ้าจอมเพิ่ม สุจริตกุล) · ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงปั้ม มาลากุล) · ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจาอมหม่อมราชวงศ์หญิงแป้ม มาลากุล) · เจ้าจอมโหมด บุนนาค · เจ้าจอมนวล ณ นคร · เจ้าจอมหม่อมหลวงหญิงถนอม เทพหัสดิน · เจ้าจอมละม้าย สุวรรณทัต · เจ้าจอมสว่าง ณ นคร · เจ้าจ�! ��มจีน บุนนาค · เจ้าจอมเนื่อง บุณยรัตพันธุ์ · เจ้าจอมเพิ่ม ณ นคร · เจ้าจอมอ้น บุนนาค · เจ้าจอมเอม พิศลยบุตร · เจ้าจอมช่วง พิศลยบุตร · เจ้าจอมใย บุณยรัตพันธุ์ · เจ้าจอมกลีบ เทพหัสดิน ณ อยุธยา · เจ้าจอมลิ้นจี่ เทพหัสดิน ณ อยุธยา · เจ้าจอมฟักเหลือง เทพหัสดิน ณ อยุธยา · เจ้าจอมประคอง อมาตยกุล · เจ้าจอมสังวาลย์ อมาตยกุล · เจ้าจอมอบ บุนนาค · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงแป้น �! ��าลากุล· เจ้าจอมถนอม ภัทร� ��าวิก · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงเยื้อน · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงเฉียด ลดาวัลย์ · เจ้าจอมถนอม บรรจงเจริญ · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงข้อ สนิทวงศ์ · เจ้าจอมเจียน โชติกเสถียร · เจ้าจอมเยี่ยม โชติกเสถียร · เจ้าจอมกิมเหรียญ โชติกเสถียร · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงแป้ว มาลากุล · เจ้าศรีแห่งนครน่าน · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงละม้าย สิงหรา · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์หญิงจรว�! � ปราโมช · เจ้าจอมทิพย์ สกุณะสิงห์ · เจ้าจอมอำ คุรุกุล · เจ้าจอมอิ่ม คุรุกุล · เจ้าจอมปุก บุนนาค · เจ้าจอมพิศว์ บุนนาค · เจ้าจอมเลียม บุนนาค · เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค · เจ้าจอมเอิบ บุนนาค · เจ้าจอมอาบ บุนนาค · เจ้าจอมเอื้อน บุนนาค · เจ้าจอมแก้ว บุนนาค · เจ้าจอมแส บุนนาค · เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์ · เจ้าจอมสมบูรณ์ มันประเสริฐ . เจ้าจอมน้อม โชติกเสถียร
พระองค์เจ้าหญิงเยาวภาพงศ์สนิท ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 10 ขึ้น 8 ค่ำ ปีวอกฉศก จ.ศ. 1246 ตรงกับ พ.ศ. 2427
พระองค์เจ้าชายรังสิตประยูรศักดิ์ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 6 ค่ำ ปีระกาสัปตศก จ.ศ. 1247 ตรงกับวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428

วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

รายชื่ออาหารไทย

รายชื่ออาหารไทย





ขนมจีน
ข้าวคลุกกะปิ
ข้าวผัดสับปะรด
ข้าวมันไก่
ข้าวยำ
ข้าวห่อใบบัว
ไข่เจียว
ไข่ต้ม
ไข่ลูกเขย
ไข่พะโล้หมูสามชั้น
ไข่ป่าม



ต้มยำ
ต้มยำแซบ



ส้มตำ
สุกี้ไทย

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

บิว

บิว กัลยาณี เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงแนวเพื่อชีวิตสำเนียงใต้หน้าใหม่ ที่เพิ่งมีผลงานเพลงในทางการค้าออกมาแค่ชุดเดียว แต่ในงานเพียงชิ้นเดียวของเธอนั้น มีเพลงฮิตติดหูมากมายหลายเพลง




สารบัญ
บิว กัลยาณี มีชื่อจริงว่า กัลยาณี เจียมสกุล มีชื่อเล่นว่า บิว เป็นชาว จ.สุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อ 12 ธ.ค.2528 มีพี่น้อง 3 คน เป็นคนสุดท้อง ทางบ้านมีฐานะยากจน พ่อเป็นภารโรง ต่อมาขยับ มาขับรถตู้ของโรงเรียน ส่วนแม่ขายขนมในโรงเรียน ซึ่งเธอก็ช่วยพ่อแม่ทำงานหาเงินทุกอย่างเท่าที่จะ ช่วยได้ ปัจจุบัน มีถิ่นพำนักอยู่ที่บ้านเลขที 67/2 หมู่ที่ 2 ต.ตะเคียนทอง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.�! �ุราษฎร์ธานี กำลังศึกษาอยู่ระดับปริญญาตรีทั้งที่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้านนิเทศศาสตร์ บูรณาการและ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชี่ยงใหม่ ด้านการตลาด
บิว กัลยาณี ชอบร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก ขณะที่ครอบครัวก็สนับสนุนเรื่องนี้ด้วย เพราะว่าพ่อก็เคยเล่นหนังตะลุง ส่วนแม่ก็ชอบร้องเพลงรำวง ทำให้เธอซึบซับเรื่องนี้มาบ้าง ยิ่งเมื่อได้เข้าโรงเรียน ครูก็ให้การสนับสนุนต่อเนื่องโดยการส่งเข้าประกวดร้องเพลงอยู่เรื่อยๆ ทำให้เธอได้รับประสบการณ์ และฝึกฝนการร้องเพลงจนได้รางวัลชนะเลิศหลายรายการ เช่น
ระดับชั้นอนุบาล - ประถมศึกษา - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงตอนเรียนชั้นอนุบาล 3 - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงงานลอยกระทง และงานประเพณีชักพระ จ.สุราษฏร์ธานี
ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงระดับอำเภอ - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงระดับจังหวัด - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงระดับภาค
ระดับมหาวิทยาลัย - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลง"Big C Sing Contes2544" - ชนะเลิศ การประกวดร้องเพลงระดับอุดมศึกษาชิงแชมป์ประเทศไทยปี 2546



วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

วอร์ลอร์ดแบล๊คจากัวร์

วอร์ลอร์ดแบล๊คจากัวร์ เป็นตัวละครจากเรื่อง วอร์ลอร์ด จ้าวนักรบกลียุค ลูกหลานของวอร์ลอร์ดเผ่าหนึ่งที่มีพรสวรรค์เป็นที่พอใจของเสียนจงผู้สืบทอดสำนักสุดขั้ว จึงพามาชุบเลี้ยงและฝึกฝนวิชาที่สำนักสุดขั้วตั้งแต่ยังเด็ก
หลังเข้าสำนักก็มีความสนิทสนมกับเทียนคง (หรือวอร์ลอร์ดตรีเนตรในภายหลัง) และฝึกวิชาร่วมกันจนฝีมือของพัฒนาขึ้นอย่างมาก ภายหลัง หลังจากที่เทียนคงประลองยุทธกับอุกกาบาตและเสียท่าด้วยวิชาสุดขั้วสิ้นสูญ จนทำให้ความลับที่ว่าเทียนคงเป็นมนุษย์กลายพันธ์ที่มีตาสามดวงเปิดเผยออกมา จนเสียนจงจำใจต้องขับไล่ออกจากสำนักสุดขั้ว แบล๊คจากัวร์ในวัย 15 ก็สิ้นศร�! ��ทธาในตัวของอาจารย์จึงออกพเนจรเพื่อฝึกวิชานับแต่นั้น
ต่อมาอาจารย์ของตนได้ถูกวอร์ลอร์ดอำมหิตสังหาร และได้สั่งเสียไว้ให้เขาคนเดียวเท่านั้นที่มีสิทธิล้างแค้นให้ แบล๊คจากัวร์จึงท้าประลองกับวอร์ลอร์ดอำมหิตเพื่อล้างแค้นให้กับอาจารย์ที่แม้เขาจะหมดศรัทธาแต่ก็ยังเคารพรักอยู่เช่นเดิม โดยหารู้ไม่ว่า นั่นเป็นหลุมพรางของผู้เป็นอาจารย์เพื่อปลุกจิตสังหารที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัวของเขาให้ปะทุออกมา


วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

โป๊ยเซียน

?
มาช่วยกันเพิ่มเติมและแก้ไขกันเถอะ อีกนิดหนึ่งหน้านี้ก็จะเรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ เริ่มต้นเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย หรือ ภาษาอื่นด้านซ้ายมือ ให้นำกล่องนี้ออกเมื่อมีข้อความเพิ่มเติม

ฮีสตาไพร์โรดีน (Histapyrrodine)


คลีมาสทีน · คาร์บินอกซามีน · เซทิไรซีน · ไซโปรเฮปตาดีน · ด็อกซิลามีน · เดกซ์คลอเฟนิรามีน · คลอเฟนิรามีน · เดสลอราทาดีน · ไดเฟนไฮดรามีน · ไดเมนไฮดริเนท · ไตรโพรลิดีน · เทอร์เฟนาดีน · บรอมเฟนิรามีน · โปรเมทาซีน · เฟกโซเฟนาดีน · มีโคลซีน · ลอราทาดีน · อะคริวาสตีน · อะซาทาดีน · อะซีลาสตีน · แอสเทมมีโซล ·


วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

สะพานพระปกเกล้า

สะพานพระปกเกล้า เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี เป็นสะพานคู่ขาไปและขากลับ สร้างเคียงข้างขนานกันกับสะพานพระพุทธยอดฟ้า เนื่องจากการจราจรบริเวณนั้นถึงจุดวิกฤต รัฐบาลจึงเห็นว่าควรมีสะพานอีกแห่งหนึ่ง เพื่อช่วยในการระบายการจราจร ช่วงกลางสะพานได้เว้นที่ไว้สำหรับสร้างทางรถไฟด้วย


วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ฮันนิบาล

ฮันนิบาล คือชื่อของฆาตกรอัจฉริยะที่รู้จักกันดีในหนังสือนิยายแนวอาชญากรรม ของ โทมัส แฮริส (อีกทั้งยังได้รับการขนานนามว่าเป็นอาชญากรที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในโลกภาพยนตร์) ชื่อเต็มๆของเขาคือ ฮันนิบาล เล็กเตอร์ ที่8 เขาเกิดปี ค.ศ.1933 ที่ประเทศลิธัวเนีย ซึ่งเป็นประเทศเล็กๆที่แยกตัวออกมาจากสหภาพโซเวียต พ่อ แม่ ของเขาตายในสงครามตั้งแต่เขายังเด็ก เขาจึงถ! ูกส่งตัวไปที่สถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ซึ่งในที่สุดเขาก็หนีออกมาได้ด้วยวิธีการอันแยบยล เขามีน้องสาว1คนชื่อ มิสซา
ฮันนิบาล เล็กเตอร์เรียนจบ ปริญญาเอก สาขาแพทย์ศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัย จอห์น ฮอปกินส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประกอบอาชีพเป็นศัลยแพทย์ จิตแพทย์ และภัณฑรักษ์ ฮันนิบาลเป็นบุคคลที่เฉลียวฉลาดซึ่งน้อยคนนักจะเป็นได้ แต่ด้วยบาดแผลในวัยเด็กที่ต้องสูญเสียครอบครัวในสงครามทำให้เขาเป้นคนเก็บตัว ไม่สุงสิงกับใคร แต่ในความอัฉริยะนี้ ลึกๆแล้วเขาก็มีความต้องการบา�! �อย่างที่ผิดแผกไปจากมนุษย์ปถุชนคนธรรมดา... เขาเริ่มฆ่าคนอย่างทารุณโหดร้ายและยิ่งไปกว่านั้นเขายังกินเนื้อเหยื่อที่เขาสังหารอีกด้วย
หนังสือของ โธมัส แฮร์ริส ที่เกี่ยวข้องกับฮันนิบาล มี 3 เล่มด้วยกัน
ปัจจุบันยังคงมีการสร้างภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับฮันนิบาลอีก 1 เรื่อง ชื่อว่า Hannibal rising เข้าฉายที่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2550 เนื้อเรื่องจะกล่าวถึงชีวิตในวัยเด็กของดร.ฮันนิบาล เล็กเตอร์ซึ่งจะทำให้ได้ทราบเหตุผลที่แท้จริงว่าสิ่งใดที่จุดชนวนให้อัจริยะคนนี้มีรสนิยมที่น่าสยดสยองผิดมนุษย์มนา...

Red dragon ตีพิมพ์ครั้งแรกในปั ค.ศ.1981 (นำมาทำเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกในปี 1986 ในชื่อ manhunter , สร้างใหม่และเข้าฉายอีกครั้งในปี2002)
The silence of the lambs (นำมาทำเป็นภาพยนตร์แล้วในปี 1991)
Hannibal (นำมาทำเป็นภาพยนตร์เช่นเดียวกัน ในปี 2001)

วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

โดโคซานอล

?
มาช่วยกันเพิ่มเติมและแก้ไขกันเถอะ อีกนิดหนึ่งหน้านี้ก็จะเรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ เริ่มต้นเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย หรือ ภาษาอื่นด้านซ้ายมือ ให้นำกล่องนี้ออกเมื่อมีข้อความเพิ่มเติม

โดโคซานอล(Docosanol)

เอ็นอาร์ติ
เอ็นเอ็นอาร์ติ
พีไอ


วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

กถามรรค

ส่วนหนึ่งของ
พุทธศาสนา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน
ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
กถามรรค แปลว่า ทางแห่งกถา, ลาดเลาแห่งกถา, แนวทางแห่งคำพูด ได้แก่ เค้าโครงแห่งเรื่องที่แต่งหรือที่เทศน์

กถามรรค หมายถึงเค้าโครงหรือโครงสร้างของเรื่องที่ผู้แต่งหรือผู้เทศน์กำหนดขึ้นตามอัตโนมัติโดยกำหนดว่าจะแต่งไปทำนองไหน จะเดินเรื่องอย่างไร จะแสดงเรื่องใดก่อนหลัง และจะขยายความกว้างแคบอย่างไร เป็นต้น
กถามรรค เป็นคำที่นิยมใช้ในสำนวนเทศนาสมัยเก่า เช่น "การอธิบายข้อธรรมนี้ไม่อาจให้พิสดารได้ด้วยกถามรรคโดยย่อและการเวลาเท่านี้" เป็นต้น